งานวิจัยที่สำเร็จ

1.The Effect of a Nurse-Led Family Involvement Program on Anxiety and Depression in Patients with Advanced-Stage Hepatocellular Carcinoma

ผู้วิจัย : พว.สุขุมา กลั่นแก้ว       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

2.การส่งเสริมการดูแลตนเองด้านอาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็งตับ ที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีฉีดยาเคมีบำบัดเข้าก้อนมะเร็งตับเฉพาะที่

ผู้วิจัย : พว.สุธิสา เต็มทับ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

3.การพัฒนาเครื่องแจ้งเตือนการส่งสิ่งส่งตรวจส าหรับพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลสงขลานครินทร์: การทดสอบต้นแบบ

ผู้วิจัย : พว.บุปผา ส่งศรีบุญสิทธิ์       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยผ่าตัด 2

4.อุบัติการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Enterobacteriaceae ที่ดื้อต่อยา Carbapenems ในผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : พว.ชวนพิศ วิริยะสุข       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยเด็ก 2

5.การรับรู้ความเจ็บป่วยในการทำนายพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ในผู้ป่วยหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ

ผู้วิจัย : พว.กัลยา จรินทรานนท์       หน่วยงาน : อายุรกรรมทั่วไป


1.การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลของผู้บริหารระดับต้น ตามกรอบแนวคิด 2P safety: SIMPLE (Medication error, Fall) โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคใต้

ผู้วิจัย : พว.วัชรีย์ แสงมณี       หน่วยงาน : สำนักงานผู้ตรวจการพยาบาล

2.ความเครียดและการเผชิญความเครียดจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ของบุคลากรทางการพยาบาล ฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : พว.วัชรีย์ แสงมณี       หน่วยงาน : สำนักงานผู้ตรวจการพยาบาล

3.บันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ที่ได้รับยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์โรงพยาบาลสงขลานครินทร์: การศึกษาย้อนหลัง

ผู้วิจัย : พว.มานี หาทรัพย์       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย

4.การบริหารมือและแขนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการผ่าตัดหลอดเลือดถาวรเพื่อฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม: บทบาทพยาบาล มีนาทองวงศ์ ศูนย์บริการผู้ป่วยก่อน-หลังทำหัตถการ (DSC)

ผู้ร่วมวิจัย : พว.มีนา ทองวงศ์       หน่วยงาน : ศูนย์บริการผู้ป่วยก่อน-หลังทำหัตถการ

5.ผลของโปรแกรมการจัดการรายกรณีโดยพยาบาลสำหรับผู้ป่วยมะเร็งตับระยะท้ายต่อการรับรู้ความทุกข์ทรมานจากอาการและผลลัพธ์การดูแลแบบประคับประคอง

ผู้วิจัย : พว.สุธิสา เต็มทับ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

6.ผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อการดูแลตนเองด้านอาหารและค่าอัลบูมินในเลือดของผู้ป่วยมะเร็งตับ

ผู้วิจัย : พว.อณีรัตน์ วงค์สวัสดิ์โสต       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

7.ประสบการณ์อาการและการจัดการอาการปวดท้องของผู้ป่วยหลังการส่องกล้องท่อทางเดินน ้าดีและตับอ่อน

ผู้วิจัย : พว.สายฝน ไทยประดิษฐ์       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมทั่วไป

8.ผลของแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดระดับความปวดหลังและป้องกันภาวะเลือดออกบริเวณแผลและจ้ำเลือดใต้ผิวหนังในผู้ป่วยมะเร็งตับที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีให้ยาเคมีบ้าบัดทางหลอดเลือดแดง

ผู้วิจัย : พว.สุธิสา เต็มทับ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

9.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีฉีดยาเคมีบำบัดเข้าก้อนมะเร็งตับ : การศึกษาไปข้างหน้าระยะยาว

ผู้วิจัย : พว.สุธิสา เต็มทับ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

10.ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดำต่อการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดดำ จำนวนวันนอนโรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ

ผู้วิจัย : พว.ดวงกมล พงศ์ศรีโรจน์       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอุบัติเหตุและไฟไหม้น้ำร้อนลวก

11.ประสิทธิผลการใช้อุปกรณ์ครอบป้องกันทวารเทียมยื่นยาวและไส้เลื่อนข้างทวารเทียม

ผู้วิจัย : พว.สมพร ก้อนเมฆ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 1

12.บทบาทพยาบาลในการป้องกันและการจัดการอาการพิษต่อเล็บในสตรีมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด: กรณีศึกษา

ผู้วิจัย : พว.สาคร หับเจริญ       หน่วยงาน : ศูนย์ให้ยาเคมีบำบัด


1.สภาพ ปัญหา และความต้องการทำวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : พว.วัชรีย์ แสงมณี       หน่วยงาน : สำนักงานผู้ตรวจการพยาบาล

2.การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความรุนแรง ประโยชน์และอุปสรรคของการส่องกล้องเพื่อตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้และไส้ตรงในกลุ่มที่มีความเสี่ยง:การศึกษาเปรียบเทียบ

ผู้วิจัย : พว.โสภณา ว่องทวี       หน่วยงาน : ศูนย์บริการผู้ป่วยก่อน-หลังทำหัตถการ

3.Effect of Installation of Alcohol Gel Dispensers and Behavioral Nudges on Behavioral Drivers for Hand Hygiene: A Quasi-Experimental Study at a Tertiary Hospital during the COVID-19 Pandemic

ผู้วิจัย : พว.โสมนัส นาคนวล       หน่วยงาน : สำนักงานผู้ตรวจการพยาบาล

4.Behavioral drivers and observation of face covering use during the COVID?19 pandemic among outpatients and visitors at a tertiary hospital in Thailand

ผู้วิจัย : พว.นันทา เกลี้ยงเกิด       หน่วยงาน :หอผู้ป่วยสังเกตอาการ

5.Propensity Score-Matched Analysis of Laparoscopic versus Open Surgery for Non-Metastatic Rectal Cancer

ผู้ร่วมวิจัย :พว.ไพรสุดา บัวลอย       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยผ่าตัด3


1.ความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ เกี่ยวกับการบริหารบุคลากรที่มีสมรรถนะสูงให้คงอยู่ใน องค์กร: กรณีศึกษาฝ่ายบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : นิตยา ไกรวงศ์       หน่วยงาน : ฝ่ายบริการพยาบาล

2.ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของบิดามารดาในการดูแลเด็กป่วย ต่อความวิตกกังวล และบทบาทของบิดามารดา ในหออภิบาลผู้ป่วยเด็ก

ผู้วิจัย : น้ำทิพย์ แก้ววิชิต       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยเด็ก (PICU)

3.การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อุมา จันทวิเศษ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมทั่วไป

4.ประสบการณ์การเปิดหอผู้ป่วยไอซียูโรคหัวใจภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด: โรงพยาบาลตติยภูมิ

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม (MICU)

5.The Effectiveness of an Evidence-Based Pain Management Program on Pain Intensity and Chest Rehabilitation Improvement Among Chest Trauma Patients in a Thai Hospital

ผู้วิจัย : สหัส บิลอะหลี       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอุบัติเหตุ

6.การพยาบาลเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง

ผู้วิจัย : กาญจนา คงเปีย       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

7.การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจ

ผู้วิจัย : วรรณิภา เสนุภัย       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยฉุกเฉิน

8.Innovation of Colostomy Appliane from Deproteinised Natural Rubber (DPNR)

ผู้ร่วมวิจัย : สมพร ก้อนเมฆ       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 1

9.ความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานเป็นกะและปัจจัยอื่น ๆ กับการควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

ผู้ร่วมวิจัย : สุมาลี วังธนากร       หน่วยงาน : ศูนย์บริการสุขภาพปฐมภูมิ

ปี 2561


1.ผลลัพธ์ของการใช้แผนการจัดการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือด: กรณีศึกษาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : รัตนาภรณ์ ประยูรเต็ม       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2

2.ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามการรับรู้ของพยาบาลต่อการรายงานอุบัติการณ์ ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : วัชรีย์ แสงมณี       หน่วยงาน :ฝ่ายบริการพยาบาล

3.ผลลัพธ์การใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดร่างกาย ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : รัตนาภรณ์ ประยูรเต็ม       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2

4.ความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กเพื่อป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในหออภิบาลผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์

ผู้วิจัย : วันดี ชูชาติ       หน่วยงาน : หอภิบาลผู้ป่วยเด็ก (PICU)

5.ผลของโปรแกรมควบคุมการติดเชื้อในเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดดำใหญ่ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน ไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

6.เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนังที่มีส่วนผสมของปิโตรลาตัมกับผลิตภัณฑ์ ปกป้องผิวหนังที่มีส่วนผสมของซิงค์ออกไซด์ต่ออุบัติการณ์และระดับความรุนแรงของ การเกิดแผลผื่นแดงระยะแรกในผู้ป่วยที่มีภาวะของเสียคั่งขึ้นสมองจากตับเสื่อมที่ไม่ สามารถควบคุมการขับถ่ายได้

ผู้วิจัย : จันจิรา จินาพร       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

7.สมดุลชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้

ผู้ร่วมวิจัย : สุมาลี วังธนากร       หน่วยงาน : ศูนย์บริการสุขภาพปฐมภูมิ



1.ผลลัพธ์ของการใช้แผนการจัดการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหลอดเลือด: กรณีศึกษาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : รัตนาภรณ์ ประยูรเต็ม       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2

2.ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามการรับรู้ของพยาบาลต่อการรายงานอุบัติการณ์ ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : วัชรีย์ แสงมณี       หน่วยงาน :ฝ่ายบริการพยาบาล

3.ผลลัพธ์การใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดร่างกาย ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : รัตนาภรณ์ ประยูรเต็ม       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2

4.ความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กเพื่อป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในหออภิบาลผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์

ผู้วิจัย : วันดี ชูชาติ       หน่วยงาน : หอภิบาลผู้ป่วยเด็ก (PICU)

5.ผลของโปรแกรมควบคุมการติดเชื้อในเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดดำใหญ่ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน ไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

6.เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนังที่มีส่วนผสมของปิโตรลาตัมกับผลิตภัณฑ์ ปกป้องผิวหนังที่มีส่วนผสมของซิงค์ออกไซด์ต่ออุบัติการณ์และระดับความรุนแรงของ การเกิดแผลผื่นแดงระยะแรกในผู้ป่วยที่มีภาวะของเสียคั่งขึ้นสมองจากตับเสื่อมที่ไม่ สามารถควบคุมการขับถ่ายได้

ผู้วิจัย : จันจิรา จินาพร       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

7.สมดุลชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้

ผู้ร่วมวิจัย : สุมาลี วังธนากร       หน่วยงาน : ศูนย์บริการสุขภาพปฐมภูมิ

ปี 2560

1.ผลของการลดระยะเวลานอนพักบนเตียงต่อระดับความปวดหลังและภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ร่วมกับการอุดหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงก้อนมะเร็งตับ

ผู้วิจัย : สุธิสา เต็มทับ      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1

2.National Early Warning Score (NEWS) at ICU Discharge Can Predict Early Clinical Deterioration after ICU transfer

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร      หน่วยงาน : MICU

3.การจัดการกับภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ และการรับรู้คุณภาพชีวิตของผู้รับบริการหญิงที่คลินิกนรีเวช

ผู้วิจัย : ลออง ผดุ้งกูล      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยนอก 2

4.บรรยากาศจริยธรรมในสถานที่ทำงานตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : จริยา สายวารี      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยเด็ก

5.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัด โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคใต้

ผู้วิจัย : สิรินันท์ ขุนเพ็ชร      หน่วยงาน : หอผ่าตัด

6.ประสบการณ์เกี่ยวกับปัยหาการรับประทานอาหารของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด

ผู้วิจัย : พิรมขวัญ เหมทานนท์      หน่วยงาน : ศูนย์ให้ยาเคมีบำบัด

7.จัดการแผลผู้ป่วยแพ้ยารุนแรงด้วยใบตอง: กรณีศึกษา Wound Management of Patients with Toxic Epidermal Necrolysis Using Banana leaf: Case study

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร              หน่วยงาน : MICU

8.การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลทารกแรกเกิดเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจในหออภิบาลทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อโณทัย ชมเชย      หน่วยงาน : หออภิบาลทารกแรกเกิด

9.ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะบีบคั้นทางจิตใจกับการเผชิญความเครียดในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะลุกลามหรือระยะท้าย: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง

ผู้วิจัย : สุธิสา เต็มทับ      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1

10.ประสิทธิผลของปลอกขาใหม่สำหรับการผ่าตัดผ่านกล้องในผู้ป่วยนรีเวช

ผู้วิจัย : ฮอเดียะ บิลยะลา     หน่วยงาน : ห้องผ่าตัด

11.ผลการควบคุมการเกิดเชื้อแบคทีเรียดื้อยาหลายขนานในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม โรงพยาบาลตติยภูมิ

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

12.การเปลี่ยนแปลงของแรงดันถุงลมท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินหายใจ โรงพยาบาล สงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : ธันยมัย ศรีหมาด       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินหายใจ

13.ความมุ่งมั่นในงานของพยาบาลประจำการและการเป็นกลุ่มการพยาบาลที่ดึงดูดใจตามการรับรู้ของ พยาบาลประจำการ โรงพยาบาลตติยภูมิ ภาคใต้

ผู้วิจัย : มัณฑนา คงวิจิตร      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยพิเศษนรีเวช


ปี 2559

1.ปัญหาการติดวัสดุรองรับปัสสาวะในผู้ป่วยอ้วน ที่ได้รับการผ่าตัดรูเปิดปัสสาวะทางหน้าท้อง : ความท้าทายในการดูแล

ผู้วิจัย : สมพร วรรณวงศ์      หน่วยงาน : ศัลยกรรมชาย

2.เปรียบเทียบประสิทธิผลของการรับประทานอาหารกากน้อยกับอาหารเหลวใสก่อนการรับประทานยาระบายในการทำความสะอาดลำไส้ก่อนส่องกล้องลำไส้ใหญ่ในผู้ป่วยนอกแผนกศัลยกรรม

ผู้วิจัย : โสภณา ว่องทวี     หน่วยงาน : ศูนย์บริการผู้ป่วยก่อน-หลังทำหัตถการ

3.ประสบการณ์ของการเป็นพยาบาลเคมีบำบัด: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา

ผู้วิจัย : สาคร หับเจริญ      หน่วยงาน : ศูนย์ให้ยาเคมีบำบัด

4.การรับรู้ภาวะสุขภาพและคุณภาพการบริการตามการรับรู้ของผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : ชนินทร์ภร เต็มรัตน์      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยนอก 2

5.ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองด้านอาหารและการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายและน้ำหนักของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน

ผู้วิจัย : ยุพา หนูฟอง      หน่วยงาน : ศูนย์สุขภาพปฐมภูมิ (PCU)

6.ผลของการฟังดนตรีตามชอบต่อความปวดและสัญญาณชีพในผู้ป่วยนรัเวชหลังผ่าตัดช่องท้อง

ผู้วิจัย : อัจฉราพร โชติพนัง      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยนอก 1


ปี 2558

1.ความรู้ความสามารถของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุหลังผ่าตัดต้อกระจก

ผู้วิจัย : จิรัชยา เจียวก๊ก     หน่วยงาน : หอผู้ป่วยตา

2.ปัจจัยที่มีความสัมพันะ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะหลังจำหน่าย

ผู้วิจัย : ปราณี นิพัทธกุศลกิจ      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยอุบัติเหตุ

3.การป้องกันและดูแลแผลที่เกิดจากการควบคุมการขับถ่ายไม่ได้ในผู้ป่วยวิกฤตที่รับการรักษาในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร     หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม (MICU)

4.ผลของการให้ข้อมูลด้วยหนังสือนิทานประกอบภาพการ์ตูนต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยเด็กวัยเนียน ที่เข้ารับการสวนหัวใจ

ผู้วิจัย : สินาฏ คุณอารี      หน่วยงาน : เด็ก 1

5.ความสุขสบายในผู้ป่วยนรีเวชหลังผ่าตัดช่องท้อง

ผู้วิจัย : อรทัย ชยาภิวัฒน์     หน่วยงาน : หอผู้ป่วยนรีเวช

6.ความรู้และการปฏิบัติในการคัดกรองความเสี่ยง และการดูแลแผลที่เท้าผู้ป่วยเบาหวานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจำตำบล 5 จังหวัด ภาคใต้

ผู้วิจัย : สมพร วรรณวงศ์      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 1

7.การพัฒนารูปแบบส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยฮีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่ได้รับยาเคมีบำบัด

ผู้วิจัย : สุธิสา เต็มทับ     หน่วยงาน : อายุรกรรมชาย 1

8.รายงานผู้ป่วย ปรับตัวทางสังคมของผู้ป่วยโรคกระจกตาเป็นแผลอักเสบติดเชื้อ

ผู้วิจัย : เขมริฐศา เข็มมะลวน      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยตา

9.การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลและระยะเวลาการผ่าตัดสร้างเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : วิลาวรรณ ทิพย์มงคล      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย


ปี 2557

1.ผลของการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนต่อระดับความปวดและความพึงพอใของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็งช่องปาก ณ หอผู้ป่วยหู คอ จมูก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อมรรัตน์ โสตถิฤทธิ์      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยหู คอ จมูก

2.สาเหตุและอัตราการงดผ่าตัดของผู้ป่วยไม่เร่งด่วนที่ได้รับการบรรจุรายชื่อในตารางผ่าตัดในเวลาราชการของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อารีย์ แก้วทวี      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยผ่าตัด

3.ผลของการสอนอย่างมีแบบแผนต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่าตัดเปิดทางเชื่อมระหว่างถุงน้ำตากับช่องจมูก แบบไม่นอนโรงพยาบาล

ผู้วิจัย : จิฬารัตน์ ปาณียะ      หน่วยงาน : หอผู้ป่วยผ่าตัดเล็ก

4.ปัจจัยทำนายระยะเวลาหย่าเครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินหายใจ

ผู้วิจัย : ภมร แช่มรักษา      หน่วยงาน : ฝ่ายบริการพยาบาล

5.ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยสูงอายุทางนรีเวช

ผู้วิจัย : อวยพร ภัทรภักดีกุล      หน่วยงาน : ฝ่ายบริการพยาบาล

6.ผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับต่อความคับข้องใจของผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกผูกมัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : วิลาสินี หทัยพิทักษ์      หน่วยงาน : จิตเวช

7.ความรู้ ความสามารถของผู้ดูแลหลักในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัด โรงพยาบาล สงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : มานี หาทรัพย์      หน่วยงาน : ศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย


ปี 2556

1.ความคิดเห็นของพยาบาลต่อการแสดงเจตนาการรักษา ล่วงหน้าในวะระสุดท้าย โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อวยพร ภัทรภักดีกุล      หน่วยงาน : ฝ่ายบริการพยาบาล

2.การรับรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองของพยาบาลและผู้ดูแลผู้ป่วย โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : สิรินทร์ ศาสตรานุรักษ์     หน่วยงาน : อายุรกรรมหญิง


ปี 2555

1.ความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมบริโภคเกี่ยวกับการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมแคลเซียมในผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : มานี หาทรัพย์     หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย

2.ผลการดูแลเด็กที่คาสายปัสสาวะโดยค้นหาแนวทางแบบมีส่วนร่วม

ผู้วิจัย : สุนิสา อนันตพัฒนพงศ์      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยเด็ก

3.ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของบคลากร ฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสขลานครินทร์

ผู้วิจัย : สุดจิต ไตรประคอง     หน่วยงาน : ฝ่ายบริการพยาบาล

4.ความต้องการของสมาชิกครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลเมื่อผู้ป่วยพึ่งพาเทคโนโลยีประคับประคองชีวิตในโรงพยาบาล

ผู้วิจัย : พวงผกา บวรลักษณ์      หน่วยงาน : ศูนย์อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์

5.การดูแลด้านจิตวิญญาณในผู้ป่วยวิกฤตและครอบครัวในไอซียู:ประสบการณ์ทางการพยาบาล

ผู้วิจัย : จารุวรรณ บุญรัตน์     หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

6.การฉีดยากลุ่มเฮพารินที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำเข้าชั้นใต้ผิวหนัง:ประสบการณ์ทางการพยาบาล

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

7.ผลของการนวดแบบกดจุดสะท้อนฝ่าเท้ากับการใช้เครื่องบีบไล่เลืดเป็นจังหวะต่อความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำที่ตำแหน่งขาหนีบในผู้ป่วยวิกฤต

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร     หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

8.ผลของการนวดแบบกดจุดสะท้อนฝ่าเท้ากับการใช้เครื่องบีบไล่เลืดเป็นจังหวะต่อความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำที่ตำแหน่งขาหนีบในผู้ป่วยที่มีสุขภาพดี

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

9.การป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : จารุวรรณ บุญรัตน์      หน่วยงาน :หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

10.ประสบการณ์ของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยวิกฤติที่ได้รับการตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาณ ในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร     หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

11.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

ผู้วิจัย : อุรา แสงเงิน       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม

12.การดูแลผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม: การประยุกต์แนวคิด FASTHUG และ BANDAIDS

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร       หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

13.การป้องกันและดูแลแผลที่เกิดจากการควบคุมการขับถ่ายไม่ได้ใน ผู้ป่วยวิกฤตที่รับการรักษาในหอผู้ป่วยไอซียูอายุรกรรม

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม

14.เปรียบเทียบการไหลเวียนเลือดดำในผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการใช้เครื่องบีบไล่เลือดเป็นจังหวะ

ผู้วิจัย : ธันยมัย ศรีหมาด       หน่วยงาน : หอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินหายใจ

15.การกระตุ้นการไหลเวียนกลับของเลือดดำด้วยการกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าและการใช้เครื่องบีบไล่เลือดเป็นจังหวะ

ผู้วิจัย : สุพัตรา อุปนิสากร      หน่วยงาน : หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม