งานวิจัย

 

แพทย์ประจำบ้านควรฝึกหัดทำงานด้านวิจัยภายใต้คำปรึกษาของแพทย์อาวุโสและอาจารย์แพทย์ โดยมีวัตถุประสงค์ให้แพทย์ประจำบ้านสามารถ
  1. เสนอโครงการวิจัย (research proposal) ได้
  2. ตั้งสมมุติฐานที่เหมาะสม
  3. วางแนวทางรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม
  4. เลือกวัสดุอุปกรณ์การวิจัยได้
  5. สรุปทดสอบสมมุติฐานอย่างมีเหตุผล
  6. เสนอรูปแบบการเสนอผลงานวิจัยได้อย่างถูกต้อง ได้แก่
          6.1 หัวข้อเรื่อง
          6.2 ชื่อผู้วิจัยและผู้วิจัยร่วม
          6.3 บทคัดย่อ
          6.4 บทนำ
          6.5 สิ่งตัวอย่าง
          6.6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
          6.7 วิธีดำเนินการวิจัย
          6.8 วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการศึกษา
          6.9 ผลการวิจัย
          6.10 บทวิจารณ์
          6.11 บทสรุป
          6.12 เอกสารอ้างอิง

 

งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ

ลำดับที่

เรื่อง

ผู้รับผิดชอบ

1

Parotid Mass in Songkhlanakarin Hospital: 12 years case study

พ.จตุรงค์/อ.สุเมธ

2

Dinamic Stent in Low Tracheal Stenosis

พ.ญาณินทร์/อ.สุเมธ

3

Role of BAER in Prognosis of Sudden SNHL

พ.ชลธิชา/อ.อารักษ์

4

Location of Sphenoid Ostium: ralate with Middle Meatus (in cadaver)

พ.ฐิติรัตน์/อ.ก่อพงศ์

5

Noise induce Hearing Loss in PSU Hospital

พ.เทิดศักดิ์/อ.สาธิต

6

10% Burrow's solution v.s. 0.3% olfloxacin ear drop in treatment of CSOM: A double-blind prospective randomized controlled trial study.

พ.จตุรงค์/อ.วันดี

7

The effict of Beclomethasone propionate in treatment of Nasal Polyp.

พ.วิราภรณ์/อ.วิรัช

8

บทบาทของการเพาะเชื้อจากบริเวณ middle meatus โดยอาศัยกล้องส่องตรวจใน

โพรงจมูก ในการรักษาภาวะการติดเชื้อในโพรงอากาศชนิดเรื้อรัง

พ.ญาณินทร์/อ.วิรัช

9

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Tincture Merthiolate กับ 2% Ketoconazole ในการรักษาผู้ป่วยโรคเชื้อราในหู

พ.สมหวัง/อ.โกวิทย์

10

การรักษาเยื่อแก้วหูทะลุด้วยวิธีการผ่าตัดโดยใช้ Fibrin Glue

พ.สนธยา/อ.อารักษ์