>> " เวลา" " />โรคแพ้ความใกล้ชิด

ความคิดเห็นทั้งหมด : 1

โรคแพ้ความใกล้ชิด


   PBL1 Block4 GI &Nutri
โรคแพ้ความใกล้ชิด

ศัพท์ทางการแพทย์เรียกโรคนี้ว่า
"thinking more than....spectolocomotif"
epidermiology
มีต้นกำเนิดจากประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบครั้งแรกระบาดในโรงเรียนแพทย์ทางภาคใต้ของไทยต่แมเกิดการระบาดอย่างรุนแรงcontrolไม่ได้
พบได้ทั่วไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก
Riskfactor

แต่ได้รับรายงานส่วนใหญ่ว่า risk factorของ
โรคนี้คืออ่อนแอทางจิตใจขั้นรุนแรง
pathopsysiology&pathogenesis
เริ่มจากเชื้อพาหะจะเข้ามาใกล้
สร้างความสนิทสนมกันตามประสาคนรู้จัก

แต่จะส่งผลถึงคลื่นไฟฟ้าในสมอง
ซึ่งจะแปรเปลี่ยนคลื่นความถี่จากความรู้สึกธรรมดาฉันท์เพื่อน พี่ น้อง
ให้เป็นตามที่ใจตนเองต้องการ

ต่อจากนั้น เมื่อเชื้อโรคได้เข้าสู่ร่างกายแล้ว
จะกระจายตัวอย่างรวดเร็วด้วยระยะเวลาอันสั้น


ซึ่งจะแปรตามความสัมพันธ์ที่มีมากหรือน้อยระหว่างผู้รับเชื้อกับผู้แพร่เชื้อ
ยิ่งมีมาก เชื้อก็จะยิ่งแพร่กระจายได้ไกล

ปัจจัยเสริม(predisposing)


โดยที่สภาพอากาศมีส่วนช่วยกระตุ้นให้เชื้อโรคแพร่กระจายได้ด้วย

ฤดูฝน มีคนโทรมาห่วงว่ากลัวจะเป็นหวัด : เชื้อโรคแพร่ไวขึ้น 30%
ฤดูหนาว มีคนสัมผัสมือแก้หนาว : เชื้อโรคแพร่ไวขึ้น 70%
ฤดูร้อน มีคนชวนไปเที่ยวทะเล : เชื้อโรคแพร่ไวขึ้น 25%
ปัจจัยเสี่ยงเสริมหลักคือความใกล้ชิด
อยู่pblกลุ่มเดียวกัน : มีโอกาสติดเชื้อเพิ่มขึ้น 80%
ทำกิจกรรมด้วยกัน :65%
เจอหน้ากันบ่อยๆ :20%
กินข้าวด้วยกัน 90%
ดูวิดิโอด้วยกัน 30%
ยืมชีตและโพยกัน 55%
พูดคุยกัน 95%


อาการของโรคนี้ โดยมากแล้วจะเริ่มจากการคิดเข้าข้างตัวเอง
จากนั้นก็จะเริ่มมีอาการอ่อนแอทางจิตใจมากขึ้นเรื่อยๆ

จะส่งผลกระทบต่อไปถึงชีวิตประจำวัน เช่น ตื่นสายเพราะมัวคุย ไม่มีกะจิตกะใจจะทะpbl ไม่อยากเข้าlectureเพราะไม่อยากเจอหน้าเทอ

ทางองค์การอนามัยโลก
จัดให้เป็นโรคที่อันตรายอีกโรคหนึ่ง

เพราะได้มีผลกระทบต่อทั้งตัวผู้ติดเชื้อเอง
ทั้งร่างกายและจิตใจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ผลการวิจัยของสถาบันการแพทย์ชั้นนำ
ได้ข้อสรุปตรงกันว่า โรคแพ้ความใกล้ชิดนั้น

อาการจะรุนแรงมากหรือน้อยต่างกันขึ้นอยู่กับตัวผู้รับเชื้อเอง
หากเกิดอาการอ่อนแอทางจิตใจยิ่งมีมากเท่าไหร่

อาการของโรคนี้ก็จะน่ากลัวมากยิ่งขึ้น

ผลกระทบจากโรคนี้คือ
เมื่อเชื้อโรคได้แพร่เข้าสู่หัวใจโดยทางเส้นเลือดนั้น
จะทำให้เกิดอาการท้อแท้ หมดหวัง สิ้นหวัง โทษตัวเอง น้อยใจชีวิต บางรายอาจรุนแรงถึงขั้น hypolove-volumic shock มักพบอาการแทรกซ้อนเช่นcongestive love failure ,love arrythemia,rukturcardia,

ปัจจุบันนี้ ทางการแพทย์ยังไม่สามารถที่จะหาวัคซีนป้องกันได้
เพราะเนื่องจากเป็นลักษณะของmalignant ที่มักจะมีการกำเริบขึ้นมาเรื่อยๆ ผู้ใดเคยเป็นมักจะรักษาได้ไม่หายขาด

ทำให้โรคนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะเป็นๆ หายๆ
ไม่สามารถระบุได้ว่าจะเป็นอีกเมื่อไหร่ และจะหายเมื่อไหร่

ขึ้นอยู่กับผลกระทบที่เกิดขึ้นว่ารุนแรงมากน้อยเพียงใด
แพทย์หลายท่านระบุว่า ======>>> " เวลา" <<<======
จะเป็นยารักษาโรคนี้ได้ดีที่สุด


รัก รัก
รัก





รัก
รัก







รัก
รัก
รัก



รัก
ยังไงก็รัก


Posted by : ความรักและคงามสำเร็จมักจะมาพร้ , E-mail : (รักเธอ@เฝ้าคิด คิดถึงคนึงเรื่อ) ,
Date : 2004-10-16 , Time : 21:30:52 , From IP : 203.150.217.118


ความคิดเห็นที่ : 1


   แล้วกรูจาตายมั้ยเนี่ยยย

Posted by : ผู้ป่วย stageIVa , Date : 2004-10-17 , Time : 17:22:35 , From IP : 172.29.4.85

ความเห็นจาก Social Network : Facebook


สงวนสิทธิ์การแสดงความคิดเห็นสำหรับ สมาชิกเท่านั้น
>>>>> Page loaded: 0.003 seconds. <<<<<