ความคิดเห็นทั้งหมด : 3

ดูแลสุขภาพด้วยธรรรมชาติจากผึ้ง 2






    นมผึ้งแท้ 100%
และโปรพรอลิส 100%

สินค้าจากธรรมชาติ ต้องสั่งล่วงหน้าครับ

สนใจใช้ธรรมชาติดูแลสุขภาพ
โทร.0872646468



Posted by : คนจร , E-mail : (Pwatjc@gmail.com) ,
Date : 2016-03-08 , Time : 19:16:05 , From IP : cm-27-145-103-217.revip12.asianet.co.th


ความคิดเห็นที่ : 1




    Royal Jelly Bee รอยัล เยลลี่ บี นมผึ้ง
ALTERMED
รอยัล เยลลี่ บี 1,000 มก.สูงถึง 10% 10-Hydroxy
นมผึ้ง เป็นสารชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า “ไฮโปรฟาริงซ์”
ที่อยู่บริเวณส่วนหัวของผึ้งงานที่มีอายุ 5-15 วันและทำหน้าที่เป็นผึ้งพี่เลี้ยง มีลักษณะเป็นเนื้อครีมสีขาว คล้ายน้ำนมหรืออกสีเหลืองซีด เนื้อข้นเหนียว นมผึ้ง คือ อาหารใช้สำหรับเลี้ยงตัวอ่อนของผึ้งและราชินีผึ้ง ตัวอ่อนที่ได้รับคัดเลือกเป็นราชินีผึ้ง จะได้รับนมผึ้งตลอดชีวิต ซึ่งช่วยให้ราชินีผึ้งมีอายุยืนนานกว่า และมีน้ำหนักตัวเป็น 3 เท่าของผึ้งงานและใหญ่กว่าถึง 50 % ราชินีผึ้งสามารถออกไข่ได้วันละ 2,000-3,000 ฟองและจะวางไข่ตลอดอายุไข จึงกล่าวได้ว่าราชินีผึ้งถูกเลี้ยงให้เป็นราชินีผึ้ง ไม่ได้เกิดมาแล้วเป็นราชินีผึ้ง ซึ่งเป็นหลักฐานได้ชัดเจนถึงคุณประโยชน์ของนมผึ้งที่เสริมสร้างพัฒนาการด้านร่างกายและการเจริญเติบโต

สารอาหารหลักที่อยู่ในนมผึ้ง
1. วิตามินบีรวม (วิตามินบี1 ,บี2, บี3 , บี5, บี6, บี9 และ บี12)
2. คาร์โบไฮเดรท โปรตีนและกรดไขมัน
3. วิตามินซี
4. วิตามินที่ละลายได้ในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี และวิตามินซี
5. แร่ธาตุต่างๆ แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี โพแทสเซียมธาตุเหล็ก ธาตุแมงกานีสโคบอลต์ ทองแดง ฯลฯ
6. 10- Hydroxy-2decenoic acid (10-HDA)
7. DE HYDRO EPIANDROSTERONE ACID (DHEA)

คุณประโยชน์อันน่าอัศศจรรย์ของ นมผึ้ง หรือ Royal Jelly Bee
แหล่งพลังงานของวิตามินบีรวม เป็นแหล่งที่ให้พลังงานเต็มที่ตลอดวัน และอุดมไปด้วยวิตามินบี1, วิตามินบี2 ,วิตามินบี3 ,วิตามินบี5 ,วิตามินบี6 ,วิตามินบี9 และวิตามินบี12 วิตามินบี1 ลดอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ช่วยให้นอนหลับสนิทและอาการป่วยที่เกิดจากการทำงานผิดปกติของระบบประสาท วิตามินบี2 ช่วยเพิ่มการเผาพลาญคาร์โบไฮเดรตโปรตีนและไขมัน ดังนั้นจึงช่วยเพิ่มอัตราความเร็วในการแปรรูปสารให้อยู่ในรูปของพลังงาน วิตามินบี5 เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันในคนที่เป็นโรคภูมิแพ้ ชะลอการเกิดผมหงอก การขาดวิตามินบี5 จะส่งผลต่อฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้ท่านสุภาพบุรุษมีจำนวนสเปริ์มต่ำลง เป็นหมันและผมหงอกได้ วิตามินบี6 เร่งกระบวนการเผาผลาญโปรตีน ควบคุมกระแสเลือด และสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง คงความอ่อนเยาว์ ชะลอวัย ต่อต้านอนุมูลอิสระ วิตามินเอ ซีและอี ปกป้องและฟื้นฟูเซลล์ในร่างกายและป้องการการเกิดปฏิกิริยาเคมีทั้งภายในและภายนอกจากภาวะต่างๆเช่น อารมณ์ แสงแดด มลภาวะในอากาศเป็นต้นสามารถชะลอกระบวนการร่วงโรยของผิว ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน ปรับความยืดหยุ่นของผิว เติมเต็มร่องลึก ผิวขาวใส เนียนนุ่ม น่าสัมผัส ช่วยทำให้ผิวกระชับเข้ารูป รักษาบาดแผล ซ่อมแวมส่วนที่สึกหรอและถูกทำลาย สร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่เสื่อมสภาพ

ปรับระดับความสมดุลของฮอร์โมน นมผึ้งช่วยควบคุมต่อมไร้ท่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในผู้ชายและผู้หญิง ช่วยควบคุมวงจรประจำเดือน ลดอาการปวดประจำเดือน ลดอาการต่างๆในวัยทอง
เสริมสร้างภูมิต้านทานและภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ร่างกาย เพราะมีปริมาณ 10-HAD สูง

ประโยชน์ในด้านอื่นๆของนมผึ้งหรือรอยัลเจลลี่ คือ ช่วยควบคุมทางเดินกระแสเลือด ให้พลังงานแก่เซลล์ ลดความเหนื่อยล้าของร่างกาย ช่วยเพิ่มการดูดซึมของอาหาร ควบคุมการเกิดโรคเบาหวาน ไมเกรน โรคที่เกี่ยวกับกระเพาะและลำไส้

10-HDA คือ >>> 10-Hydroxy-2decenoic acid เป็นสารที่ค้นพบในนมผึ้งเท่านั้น และมีหน้าที่ในการควบคุมระบบการทำงานของร่างกายเป็นหลัก โดยการหลั่งฮอร์โมนและสาร Adrenaline และการสั่งงานของระบบประสาทภายในสมอง

10-HDA เป็นแหล่งพลังงานหลักๆ ส่งผลให้เซลล์ร่างกายมีความแข็งแรงและอายุยืนยาว ป้องกันการการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติในอวัยวะส่วนต่างๆ และจะเข้าไปซ่อมแซมจนถึงหน่วยพันธุกรรมหรือ DNA ให้แข็งแรง ในเด็กที่มีอาการดาวน์ซินโดรมและคนชราทีเริมเป็นอัลไซเมอร์เพราะมีอากรที่ผิดปกติของเซลล์สมองและระบบประสาทหากได้รับ 10-HDA ในปริมาณที่เพียงพอก็จะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดอาการผิดปกติของร่างกาย

รอยัลเจลลี่เหมาะสำหรับ ผู้ที่เริ่มมีอาการเหนื่อยล้าร่างกายง่าย ผู้ที่กำลังเข้าสู่วัยทอง สุภาพสตรีที่มักปวดประจำเดือน ผู้ที่เริ่มมีริ้วรอยแห่งวัย ระบบเผาผลาญเมตาบอริซึมไม่ดี ผู้ที่ต้องใช้สมองเยอะ ภูมิต้านทานร่างกานน้อย หรืออ่อนแอ ผู้ที่มีผิวแห้งขาดความชุ่มชื้น มีความเชื่อว่า นมผึ้งเป็นสารอาหารที่ช่วยต่อต้านเครียด ความเหนื่อยล้าและช่วยฟื้นฟูกำลังให้แก่ผู้ที่เพิ่งหายป่วยหรือพักฟื้นร่างกาย เสียเลือดมาก

รอยัล เยลลี่ บี ( Royal Jelly Bee) หรือ นมผึ้ง >>> มีผลวิจัยทางการแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ด้านโภชนาจากหลายๆสถาบันทั่วโลกค้นพบว่า นมผึ้งมีคุณประโยชน์มีสารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับสุภาพสตรีที่มีปัญหาสุขภาพและระบบสืบพันธุ์ ดังนี้

นมผึ้งมีสารออกฤทธิ์ ที่สามารถลดอาการอักเสบของมดลูกและผนังช่องคลอด
กรด 10hydroxy-2-decenoic acid ยับยั้งและต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อราอันเป็นสาเหตุของกลิ่นปาก กลิ่นตัว กลิ่นอับชื้น ภายในช่องคลอดให้ลดลงและหายเป็นปกติได้ มีผลออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนที่มีอยู่ในเพศหญิง ทำให้ผิวพรรณเต่งตึงมีน้ำมีนวล ลดการหย่อนคล้อยของหน้าอก ทำให้หน้าอกเต่งตึง ช่วยลดสีคล้ำของหัวนม ช่วยยกกระชับช่องคลอดและหน้าท้องที่หย่อยยานอันเกิดจากการคลอดบุตร DE HYDRO EPIANDESTORONE ACID ( DHEA ) ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายผลิตสาร Pheromone เป็นสารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ช่วยให้มีเสน่ห์ดึงดูดเพศตรงข้าม ให้เกิดอารมณ์รักใคร่ สารชนิดนี้หลั่งออกมาจากร่างกายทำให้ผิวพรรณมีกลิ่นหอม เย้ายวนชวนสัมผัส ซึ่งคนทั่วไปเรียกว่า กลิ่นเสน่ห์สาว,กลิ่นหอมเนื้อนวลนาง , กลิ่นสาปสาวเป็นต้น Folic Acid กรดโฟลิคแอซิด ช่วยป้องกันมะเร็งปากมดลูก ปากช่องคลอด รักษาซีสต์ เนื้องอก เนื้องอก จากเซลล์ที่ผิดปกติ Pyridoxine รักษาอากรตกขาวและกลิ่นอับในช่องคลอด อาการปวดหน่วง เสียวมดลูก อาการปวดท้องน้อยเป็นประจำโดยไม่ทราบสาเหตุ Phenerolanine ลดอาการปวดประจำเดือนได้ชะงัก ช่วยให้ชองคลอดแน่นกระชับและอารมณ์ทางเพศสมบูรณ์ขึ้น Essential Amino Acid ในนมผึ้งปรับสมดุลฮอร์โมนสำหรับสุภาพสตรีในระยะที่เริ่มเข้าสู่วัยทอง ควบคุมต่อมไร้ท่อได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในผู้ชายและผุ้หญิง ไม่ให้เกิดอาการอารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด ฉุนเฉียวโมโหง่าย ร้อนวูบวาบปวดตามเนื้อตามตัว ปวดหัว จิตใจห่อเหี่ยวซึมเซา ความจำเสื่อม นอนหลับยาก ไม่มีอารมณ์ทางเพศ

Royal Jelly Bee รอยัล เยลลี่ บี นมผึ้ง เกรดพรีเมี่ยม ALTERMED
Royal Jelly Bee ผลิตจากธรรมชาติ เพื่อคืนความกระจ่างใส ชุบชีวิตใหม่ให้ผิวสวยจากภายในสู่ภายนอก ผู้หญิงค่อนข้างจะตระหนักถึงความสวยงามและใช้เงินจำนวนมากในการเลือกซื้อเครื่องสำอาง เครื่องประทินผิว ครีมบำรุงต่างๆ โดยละเลยที่จะดูแลสุขภาพภายใน สนใจความงามแต่ภายนอก โดยทั่วไปแล้ว ผู้หญิงที่มีอายุราว 46–50 ปีขึ้นไปจะอยู่ในช่วงวัยหมดประจำเดือน ซึ่งในช่วงนี้เนื้อเยื่อและเซลล์ต่างๆ ในร่างกายเริ่มเสื่อมลงเรื่อยๆ ได้แก่
1. ผิวหนังเริ่มแห้งกร้าน ไม่เนียนนุ่ม ไม่มีเลือดฝาด ผิวหนังไม่เรียบเนียน ผิวหนังไม่เด้งไม่เต่งตึง
2. มีรอยย่น มีริ้วรอย และรอยตีนกาปรากฏบริเวณผิวหน้า
3. ผมเริ่มเป็นสีเทา และขาวเพิ่มมากขึ้น
4. รังไข่จะฝ่อและหดตัว
5. มดลูกจะเริ่มยืดหยุ่นน้อยลง

สรรพคุณ
1. ผลทางเภสัชวิทยา - ฤทธิ์ต้านมะเร็ง - ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย - ฤทธิ์ขยายหลอดเลือด - ฤทธิ์ลดความดันโลหิต - ฤทธิ์การชะลอความแก่
2. ผลต่อการมีอายุยืน - ฤทธิ์กระตุ้นการเจริญเติบโต - ฤทธิ์ต้านการอักเสบ - ฤทธิ์ต้านการทำงานของเกล็ดเลือด - ฤทธิ์ต้านมลพิษ
3. ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ - ฤทธิ์ต้านการสร้างไขมัน
4. ผลต่อเมตาบอลิซึ่ม คุณค่าและประโยชน์จากสารอาหารที่จะได้รับเมื่อบริโภครอยัล เยลลี บี
- ฮอร์โมนปรับสมดุลของเนื้อเยื่อ/เซลล์ประสาท เพิ่มการเผาผลาญในร่างกาย ฟื้นฟู ปรับสภาพเซลล์ในร่างกาย และเสริมสร้างการทำงานของรังไข่
- คอลลาเจน ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงมีความยืดหยุ่นได้ดี ลดการเกิดรอยเหี่ยวย่นและรอยตีนกาในบริเวณต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณใบหน้า
- วิตามินบีรวม เสริมสร้างเซลล์และกล้ามเนื้อให้แข็งแรง ทำให้ผิวพรรณมีน้ำมีนวล ผิวดีเนียนนุ่ม ผิวขาวใส ช่วยชะลอความแก่ คงความเป็นหนุ่มสาว คลายความเครียด บำรุงระบบประสาด และปลายประสาด
- โปรตีน เสริมสร้าง และบำรุงตับ เพื่อที่จะทำให้เซลล์และกล้ามเนื้อในร่างกายได้รับการซ่อมแซมและบำรุงให้มีความยืดหยุ่นตาม ธรรมชาติ เพียงทานวันละ 1 เม็ด

นมผึ้ง หรือ Royal Jelly
-เพื่อการบำรุงบำบัด ฟื้นฟู กล้ามเนื้อและเซลล์เก่า เสริมสร้างกำลังให้ดีขึ้น
-ต่อต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคร้ายแรง เรื้อรังอื่นๆ อาทิ เบาหวาน ไต ตับ ความดัน โลหิตสูง-ต่ำ มะเร็ง ความจำเสื่อม เป็นต้น
-ช่วยให้ระบบย่อยอาหารดีขึ้น
-ช่วยบรรเทาไมเกรน ปวดประจำเดือน และลดการเกิดสิวจากระบบฮอร์โมน
-บรรเทาโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น โรงภูมิแพ้ ไข้หวัด โพรงจมูกอักเสบ ผิวหนังอักเสบ
-ซ่อมแซมเซลล์ผิว ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง และอ่อนวัยลง ผิวขาวใส ผิวเรียบเนียน ผิวเนียนนุ่ม น่าสัมผัส
-กระตุ้นการสร้างฮาร์โมนเพศหญิงและชายให้ได้สมดุล
-ช่วยให้ร่างกายทำงานดีทุกสัดส่วน ต้านการเกิดโรต่างๆ
นมผึ้ง เหมาะสำหรับใครบ้าง
- ผู้ที่สุขภาพไม่แข็งแรง
- ผู้กำลังเข้าสู่วัยทอง
- หญิงที่มักปวดประจำเดือน
- ผู้ที่มีสัญญาณริ้วรอยก่อนวัย
- ผู้ที่มีระบบการเผาผลาญไม่ดี
- ผู้ที่มีความจำเสื่อม
- ผู้ที่มีอาการก่อนเพลียหรือเหนื่อยล้า
- ผู้ที่ระบบต้านทานโรคของร่างกายอ่อนแอ
- ผู้ที่มีปัญหาเรื่องผิว
- ผู้อ่อนแรงอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วย

วิธีรับประทาน :
รับประทาน ก่อนอาหารเช้า 15-30 นาที จะดูดซึมเข้าสู่ในร่างกายได้ดี หรือรับประทานก่อนนอน 30 นาที สำหรับผู้ที่ต้องการหลับสนิท
สารอาหารที่อยู่ในนมผึ้ง • วิตามินบีรวม (วิตามินบี1 บี2 บี3 บี5 บี6 บี9 และบี 12) • คาร์โบไฮเดรท โปรตีนและกรดไขมัน • วิตามินซี • วิตามินที่ละลายได้ในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ ดี อี • แร่ธาตุต่าง ๆ แคลเซียม แมกนีเซียม สังกะสี โพแทสเซียม ธาตุเหล็ก ธาตุแมงกานีส โคบอลต์ ทองแดง ฯลฯ • เจลาติน • 10-Hydroxy-2decenoic acid (10H2DA) • อุดมไปด้วยกรดอะมิโนจำเป็น
ใน 1 แคลซูล ประกอบด้วย Royal Jelly (1,000mg.) Equiv. 10-Hydroxy-2-Decenoic Acid 30mg. (6%)

วิธีรับประทาน :
รับประทาน ก่อนอาหารเช้า 15-30 นาที จะดูดซึมเข้าสู่ในร่างกายได้ดี หรือรับประทานก่อนนอน ก็ได้


Posted by : คนจร , E-mail : (Pwatjc@gmail.com)) ,
Date : 2016-03-08 , Time : 19:18:19 , From IP : cm-27-145-103-217.revip12.asianet.co.th


ความคิดเห็นที่ : 2






    ประโยชน์ของนมผึ้ง
1.เป็นยาอายุวัฒะที่อัศจรรย์ด้วยสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยในการชะลอวัยและมีสุขภาพแข็งแรง
2.นมผึ้งเป็นแหล่งของสารอาหารที่ครบถ้วนสมบูรณ์มาก และมนุษย์ก็จำเป็นต้องรับประทานเช่นกัน
3.มีส่วนช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส ช่วยลดปัญหาของสิวผ้า กระ ได้
4.ช่วยในการรักษาหวัด และหอบหืด
5.ช่วยในการเจริญอาหาร
6.ช่วยในการเจริญเติบโตของสมองและร่างกาย
7.ช่วยในการเสริมสร้างคอลลาเจน และชะลอการเกิดริ้วได้
8.ช่วยลดคอเลสเตอรอลในเส้นเลือด และช่วยขจัดไขมันที่ตกค้างในตับ
9.ช่วยลดความดันโลหิตและการขยายตัวของหลอดเลือดได้
10.ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
11.ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดงให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง
12.ช่วยในการรักษาบาดแผลให้หายเร็วยิ่งขึ้น
13.ช่วยป้องกันการเกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร
14.ทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมสารอาหารและมีออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆของร่างกายได้ดีมากขึ้น
15.ช่วยให้แคลเซียมดูดซึมได้ดีขึ้น มีผลทำให้ช่วยป้องกันภาวะกระดูกพรุน เพิ่มความหนาแน่นของมวลกระดูก
16.ช่วยบำรุงเส้นผมให้มีสุขภาพแข็งแรง
17.มีส่วนช่วยบรรเทาอาการเครียด และช่วยต่อต้านความเครียด
18.ช่วยต่อต้านสารกัมมันตรังสี และช่วยยับยั้งการลุกลามของเซลล์มะเร็งในร่างกาย
19.ผู้ป่วยมะเร็งในระยะแพร่กระจาย เมื่อรับประทานนมผึ้งจะช่วยลดการอักเสบของก้อนมะเร็งได้
20.ช่วยต่อต้านการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อดื้อยาต่าง ๆได้หลายชนิด
21.ช่วยต่อต้านการเจริญเติบโตของเชื้อราบริเวณผิวหนังได้ดี
22.ช่วยกระตุ้นและเสริมสร้างการทำงานและปรับสมดุลของฮอร์โมนเพศหญิง


Posted by : คนจร , E-mail : (Pwatjc@gmail.com) ,
Date : 2016-03-08 , Time : 19:19:48 , From IP : cm-27-145-103-217.revip12.asianet.co.th


ความคิดเห็นที่ : 3




   + เอกสารอ้างอิง +

- กระทรวงสาธารณสุข. (2548). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 294) เรื่องรอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี.
- กระทรวงสาธารณสุข. (2548). คำชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 293) เรื่องผลิตภัณฑ์อาหารเสริม.
- กรมส่งเสริมการเกษตร. (2528). การสัมมนาการเลี้ยงผึ้งแห่งชาติ ครั้งที่ 1. เอกสารประกอบการสัมมนา, เชียงใหม่.
- กองเผยแพร่และควบคุมการโฆษณา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เอกสารเผยแพร่. (2541). “รอยัลเยลลี” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://webnotes.fda.moph.go.th/consumer/csmb/csmb2545.nsf/c8822a1b58ee742747256e60002f3b8a/423c22823e9b536dc7256cc4000c7d26?OpenDocument (23 มกราคม 2551).
- กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2551). “นมผึ้ง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://elib.fda.moph.go.th (23 มกราคม 2551).
- ประไพศรี ศิริจักรวาล. สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2537). “นมผึ้ง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://www.inmu.mahidol.ac.th/th/knowledge/pdf/66.pdf (28 มกราคม 2551).
- พิชัย คงพิทักษ์. (2524). การคัดเลือกและการผลิตสายพันธุ์ผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera L.) เพื่อผลิตนมผึ้ง. รายงานการวิจัยเสนอต่อสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ, เชียงใหม่.
- พิชัย คงพิทักษ์ และสมนึก บุญเกิด. (2537). การปรับปรุงการเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์ผึ้ง. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาการเกษตร. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม : ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.
- วัฒนะ พีระพันธุ์. (2546). การผลิตรอยัลเยลลี. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร, พิษณุโลก.
- สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ. (2540). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ 15. “ผึ้ง : ทำไมผึ้งนางพญาจึงมีขนาดโตกว่าผึ้งอื่นๆ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK15/chapter1/t15-1-l3.htm#sect (18 มกราคม 2553).
- สุภาภรณ์ พงศกร. (2539). เกร็ดความรู้เรื่อง Royal jelly (นมผึ้ง). คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
- อิทธิพล หนูน้ำคำ. (2545). ผลของนมผึ้งต่อการเจริญของเชื้อแบคทีเรียบางชนิด. วิทยานิพนธ์วิทยศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Antinelli, J.F., Zeggane, S., Davico R., Rognone, C., Faucon, J.P. and Lizzani, L. (2003). Evaluation of (E)-10-hydroxydec-2-enoic acid as a freshness parameter for royal jelly. Food Chemistry, 80(1), 85-89.
- Bincoletto, C., Eberlina, S., Figueiredoa, C.A.V., Luengoa, M.B. and Queiroza, M.L.S. (2005). Effects produced by royal jelly on haematopoiesis: relation with host resistance against Ehrlich ascites tumour challenge. International Immunopharmacology, 5(4), 679-688.
- Buratti, S., Benedetti, S. and Cosio, M.S. (2007). Evaluation of the antioxidant power of honey, propolis and royal jelly by amperometric flow injection analysis. Talanta, 71(3), 1387–1392.
- Chen C. and Chen S. Y. (1995) Changes in protein components and storage stability of royal jelly under various conditions. Food Chemistry, 54(2), 195–200.
- Decourt, M.N. (1956). Royal jelly. Rev. Path. Genm. Paris, 56 : 1495.
- Donadieu, Y. (1983). Dosage of royal jelly. Royal Royal Jelly in Natural Therapeutics, 27(3), 182-185.
- FDA. (2007) “Royal Jelly” [online]. Available :
http://www.fda.gov/ICECI/EnforcementActions/WarningLetters/2007/ucm076314.htm (20 April 2010).
- Fujii, A., Kobayashi, S., Kuboyama., N., Furukawa, Y., Kaneko, Y., Ishihama, S., Yamamoto, H. and Tamura, T. (1990). Augmentation of wound healing by royal jelly (RJ) in streptozotocin-diabatic rats. Journal of Pharmacology, 53(3), 331-337.
- Fujiwara, S., Imai, J., Fujiwara, M., Yaeshima, T., Kawashima, T. and Kobayashi, K. (1990). A potent antibacterial protein in royal jelly. Purification and determination of the primary structure of royalisin. Journal of Biology and Chemistry, 265(19), 11333–11337.
- Hart, C. (1999). The mysterious placebo effect. Modern Drug Discovery, American Chemical Society, 2(4), 30-40.
- Hidaka, S., Okamoto, Y., Uchiyama, S., Nakatsuma, A., Hashimoto, K., Ohnishi, S.T. and Yamaguchi, M. (2006). Royal jelly prevents osteoporosis in rats : Beneficial effects inovariectomy model and in bone tissue culture model. Evidence-based Complementary and Alternative Medicine, 3(3), 339-348.
- Husein, M.Q. and Haddad, S.G. (2006). A new approach to enhance reproductive performance in sheep using royal jelly in comparison with equine chorionic gonadotropin. Journal of Animal Reproduction Science, 93(1-2), 24-33.
- Jamnik, P., Goranovic, D. and Raspor, P. (2007). Antioxidative action of royal jelly in the yeast cell. Journal Experimental Gerontology, 42(7), 594-600.
- Kamakura, M., Mitani, N., Fukuda, T. and Fukushima, M., (2001). Antifatigue effect of fresh royal jelly in mice. Journal of Nutrient Science Vitaminology, 47(6), 394-401.
- Kramer, K.J., Tager, H.S. and Childs, C.N. (1980). Insulinlike and glucagon-like peptides in insect hemolymph. Insect Journal of Biochemistry, 10(3) 179–182.
- Kramer, K.J., Childs, C.N., Spiers, R.D. and Jacobs, R.M. (1982). Purification of insulin-like peptides from insect haemolymph and royal jelly. Insect. Journal of Biochemistry, 12(1), 91–98.
- Krell, R. (1996). Value-added products from beekeeping. FAO Agricultural Service Bullentin No. 124. Food and Agriculture Organization of the United Nations, Rome.
- Kridli, R.T. and Al-Khetib, S.S. (2006). Reproductive responses in ewes treated with eCG or increasing doses of royal jelly. Journal of Animal Reproduction Science, 92(1-2), 75-85.
- Majtan, J., Kovacova, E., Bilikova, K. and Simuth, J. (2006). The immunostimulatory effect of the recombinant apalbumin 1-major honeybee royal jelly protein-on TNF-α release. International Immunopharmacology, 6(2), 269-278.
- Matsui, T., Yukiyoshia, A., Doi, S., Sugimotob, H., Yamada, H. and Matsumoto, K. (2002). Gastrointestinal enzyme production of bioactive peptides from royal jelly protein and their antihypertensive ability in SHR. Journal of Nutritional Biochemistry, 13(2), 80–86.
- Melliou, E. and Chinou, I. (2005). Chemistry and Bioactivity of Royal Jelly from Greece. Journal of Agriculture Food Chemistry, 53(23), 8987-8992.
- Mishima, S., Suzuki, K., Isohama, Y., Kuratsu, N., Araki, Y., Inoue, M. and Miyata, T. (2005). Royal jelly has estrogenic effect in vitro and in vivo. Journal of Ethnopharmacology, 101(1-3), 215-220.
- Miyata, K., Okamoto, S., Ushio, I., Iwaki, S., Ikeda, K. and Kurimoto, M. (2004). Identification of a collagen production- promoting factor from an extract of royal jelly and its possible mechanism. Bioscience Biotechnology and Biochemistry, 68(4), 767-773.
- Morse, R.A. (1975). Bees and beekeeping. New York : Cornell University Press.
- Nagai, T., Inoue, R., Suzuki, N. and Nagashima, T. (2006). Antioxidant properties of enzymatic hydrolysates from royal jelly. Journal of Medicinal Food, 9(3), 363-367.
- Nakajin, S., Okiyama, K., Yamashita, S., Akiyama, Y. and Shinoda, M. (1982). Effect of royal jelly on experimental hyperchoresterolemia in rabbit. Yakugaku Zasshi, 36(1), 65-69.
- Nazzi, F., Bortolomeazzi, R., Vedova, G.D., Piccolo, F.D., Annoscia, D. and Milani, N. (2009). Octanoic Acid Confers to Royal Jelly Varroa-Repellent Properties. Naturwissenschaften, 96(2), 309–314.
- Noda, N., Umebayashi, K., Nakatani, T., Miyahara, K. and Ishiyama, K. (2005). Isolation and characterization of some hydroxy fatty and phosphoric acid esters of 10-hydroxy-2-decenoic acid from the royal jelly of honeybees (Apis mellifera). Lipids, 40(8), 833-838.
- Schmitzova, J., Klaudiny, J., Albert, S., Schroder, W., Schreckengost, W., Hanes, J., Judova, J. and Simuth, J. (1998). A family of major royal jelly proteins of the honeybee (Apis mellifera L.). Cell Molecule Life Science, 54(9), 1020-1030.
- Sesta, G. (2006). Determination of sugars in royal jelly by HPLC. Apidologie Sciences, 37(extra issue), 84–90.
- Shimoda, M., Nakajin, S., Oikawa, T., Sato, K., Kamogawa, A. and Akiyama, Y. (1978). Biochemical studies on vasodilative factor in royal jelly. Yakugaku Zasshi, 98(2), 139-145.
- Simuth, J., Bilikova, K., Kovacova, E., Kuzmova, Z. and Schroeder, W. (2004). Immunochemical approach to detection of adulteraton in honey; physiologically active royal jelly protein stimulating TNF-α release is a regular component of honey. Journal of Agricultural and Food Chemistry, 52, 2154-2158.
- Stocker, A., Schramel, P., Kettrup, A. and Bengsch, E. (2005). Trace and mineral elements in royal jelly and homeostatic effects. Journal of Trace Elements in Medicine and Biology, 19(2-3), 183–189.
- Takekana, T. (1982). Chemical Composition of Royal Jelly. Honey Bee Science, 3, 69-74.
- Takenaka T. and Echigo T. (1983). Proteins and peptides in royal jelly. Nippon Nogeikagaku Kaishi, 57, 1203–1209.
- Tangpraprutgul, P. (1993). Steroid hormone-like substances in royal jelly in Asian Apiculture. Press, U.S.A., 344-347.
- Tani, H., Takahashi, S., Hasumi, K., Tatefuji, T., Hongo, Y. and Koshino, H. (2009). Isolation of (E)-9,10-dihydroxy-2-decenoic acid from royal jelly and determination of the absolute configuration by chemical synthesis. Tetrahedron : Asymmetry, 20(4), 457–460.
- Taylor, J.S. (2009). “Royal Jelly Dosage” [Online]. Available : http://bee-pollen-royal-jelly.com/2009/10/23/royal-jelly-dosage/ (20 April 2010).
- Townsend, G.F., and Lucas, C.C. (1940). The Chemical Nature of Royal Jelly. Journal of Biochemistry, 34, 1155-1162.
- Townsend, G.F., Morgan, J.F., Toinai, Susan, Hazlett, Barbara, Morton, Helen J. (1960). Studies on the in vitro antitumor activity of fatty acids. I. 10-Hydroxy-2-decenoic acid from royal jelly. Cancer Research, 20, 503-10.
- Watanabe, K., Shinmoto, H., Kobori, M., Tsushida, T., Shimohara, K., Kanaeda, J. and Yonekura, M., (1996). Growth stimulation with honey royal jelly DIII protein of human lymphocytic cell lines in a serum-free medium. Journal of Biotechnology Techniques, 10(12), 959–962.
- Watanabe, K., Shinmoto, H., Kobori, M., Tsushida, T., Shimohara, K., Kanaeda, J., and Yonekura, M., (1998). Stimulation of cell growth in the U-937 human myeloid cell line by honey royal jelly protein. Journal of Cytotechnology, 26(1), 23–27.
- Yonei, Y. (1997). Colitis in a human consuming royal jelly. Food Chemistry and Toxicology, 35(12), 1228-1228


Posted by : คนจร , E-mail : (Pwatjc@gmail.com) ,
Date : 2016-03-08 , Time : 19:21:58 , From IP : cm-27-145-103-217.revip12.asianet.co.th


ความเห็นจาก Social Network : Facebook


สงวนสิทธิ์การแสดงความคิดเห็นสำหรับ สมาชิกเท่านั้น
>>>>> Page loaded: 0.006 seconds. <<<<<