เรื่องราวของมูลนิธิพุทธฉือจี้ ไต้หวัน: การงอกงามของหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์เดือนเมษายน ช่วงสงกรานต์ปีนี้ คณะแพทย์เราได้ไปเยี่ยมเยียนมูลนิธิพุทธฉือจี้ ประเทศไต้หวันมา หลายคนเกิดความประทับใจ ผมเองขอเอาความประทับใจนั้นมาถ่ายทอดไว้ใน website gotoknow ของ สคส. รวม 12 ตอนดังนี้ ฉือจี้ มหาเมตตาธรรมค้ำจุนโลก ตอนหนึ่ง ฉือจี้ ระบบการศึกษามาจากความรัก ความเมตตา และวินัย ตอนสอง ฉือจี้ ใจเขา ใจฉัน ใจเรา ตอนสาม ฉือจี้ วาทะธรรม ตอนสี่ ฉือจี้ โรงพยาบาลแห่งเมตตาธรรม ตอนห้า ฉือจี้ เมตตาคน เมตตาโลก ตอนหก ฉือจี้ ที่มาแห่งพลัง... ศรัทธา ตอนเจ็ด ฉือจี้ โรงเรียนแพทย์ ตอนแปด ฉือจี้ Memoir of a Volunteer ตอนเก้า ฉือจี้ การเดินทางจตุทศวรรษ ตอนสิบ ฉือจี้ ...พวกเราได้ทำกันแบบนี้นะลูกเอ๋ย... ตอนสิบเอ็ด ฉือจี้ นิราศฉือจี้ นิราศทุกข์ ตอนสิบสอง อยากได้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้วยนะครับ ขอบคุณครับ Posted by : phoenix , Date : 2008-06-10 , Time : 22:15:39 , From IP : 172.29.9.38 |
test test ... Posted by : cosmo , Date : 2008-06-13 , Time : 10:39:48 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
test test... Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:27:15 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
cannot post.....help! Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:45:45 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
Dear Aj.Sakon Tzu Chi is a good example for applying the knowledge for a great benefite of mankind. Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:47:52 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
I cannot post more than that for some reson that I do not know. Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:50:56 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
:) some time can, sometime cannot. Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:51:50 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
So sorry for this mess. Posted by : cosmo , Date : 2008-06-14 , Time : 08:53:33 , From IP : medtthlcu-tai.jcu.ed |
ผมเห็นด้วยกับคุณจริงใจครับ "วิธี" ที่เราจะทำนั้น คงจะไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน นี่คือจุดแข็งของการมี vision เป็นปรัชญา หรือเป็นคุณค่า คุณธรรม มากกว่าเป็น solid targets เพราะเมื่อนำไปปฏิบัติเราจะไม่ต้องเปิดดู guideline แต่เราไป consult หัวใจของเราแทน ว่าที่ทำไปเป็นอย่างไร เมื่อวานนี้ผมไปร่วมงานประชุม critical care ตอนสิ้นสุดงาน มีพยาบาลท่านหนึ่งมาสนทนาด้วย บอกว่าทำไมบางครั้ง เขาทำตามกฏ ตาม guideline แล้ว กลับรู้สึกแปลกๆ ไม่สบายใจ ปรากฏว่าเป็นกรณีที่คนไข้ sign do not resuscitation ไปแล้ว ปรากฏว่าหมอเลยไม่พยายามจะทำอะไรอื่นๆอีกเลย symptomatic treatment กลายเป็นหายไปพร้อมๆกัน อันนี้เป็นตัวอย่างว่า guideline เขียนมายังไงก็ตาม มันก็ยังไม่สามารถเขียนให้ละเอียด บอกเป็น protocol หรือเป็นคู่มือ 1, 2, 3... ได้ เรายังต้องใช้วินิจพิจารณญานมาช่วยตัดสินใจ ใช้หัวใจเรามาเป็นเกณฑ์วัดอีกที คนเรานั้นมีความดีภายในที่บริสุทธิ์เป็นพื้นฐาน และงานทางการแพทย์ การพยาบาลนั้น operate จากรากฐานนี้เป็นหลัก เหมือนกับเวลาที่เราพูดว่า "นั่งสวย" นั่นแหละครับ บางคนอาจจะคิดว่าต้องมีมาตรฐาน John Robert Power เป็นท่านั่งท่าเดียวในโลกที่สวย แต่จริงๆ เราสามารถจะนั่งพับเพียบ นั่งสมาธิเพชร ฯลฯ ที่ไม่ได้อยู่ใน protocol และสวยสง่างามแบบไทยๆได้อีกหลายท่า key คือ เราจะฝึกอย่างไรให้ "ใจเราหมกมุ่นกับการสร้างความดี" ที่เป็นการทำ "เพื่อคนอื่น" มากกว่า ผมเคยบรรยายเรื่อง ความงาม ความดี และความจริง ที่งานประชุม Regional HA ที่เชียงใหม่ปีที่แล้ว ความงามนั้นใช้ ความรู้สึก เป็นการใช้ "ตัวเรา" หรือทำ "เพื่อฉัน" ต่อเมื่อเราได้ทำอะไร เพื่อคนอื่น ความดีจึงเริ่มปรากฏ ในทำนองเดียวกัน มารยาท จริยธรรม คุณธรรม ทั้งหมดมีรากฐานมาจากการที่เราเห็นคุณค่าของผู้อื่น และการทำอะไรเพื่อผู้อื่นนั่นเอง Posted by : phoenix , Date : 2008-06-14 , Time : 11:32:58 , From IP : 172.29.9.38 |
Dear Cosmo, I am a no-school vipassna practitioner so, unfortunately, not qualified to guide you to the real teacher. Recently, I do things with less structure, less formality, and less protocol. I think (and believe) the real practice from normal daily life is more than enough. Actually we can do something just start from what we are doing everyday. Because we do not want a certificate or "brand" and it is really our own way of life the other ways or methodology applied well for others may not suite us. Look at Master Cheng yen, the founder of Tzu Chi. She did not have any formal rules or protocol. What she has been practicing and teaching are always real stuff from every-day activities. Head, Heart, and Hand, (the three-layer of bRAIN) we are more familiar using head the most. I think this is the handicap of myself in the past. Waldolf school of Rudolf Stiener devided age-of-learning into three parts namely body, feeling, and thinking (7 years for each). His school method reflects this development and then we will find that what we try to do here in Thailand we skip the first two steps and focus mostly on the third. The results of inadequate physical training/doing, emotional training/practicing could be devastating as we are experiencing right now. The thinking or higher brain function that has not been supported well by bodily doing and put heart into the right place from the first place can be easily corrupted. I think you can however search for many good teachers or resources of vipassna. I personally do not think formal school or guideline is anything for myself right now. Pretty much enjoy what I am doing lately however. You are welcome and it is really enjoyable for our conversation sir. Posted by : phoenix , Date : 2008-06-15 , Time : 10:22:51 , From IP : 172.29.9.38 |
ความเห็นจาก Social Network : Facebook |
|
>>>>> Page loaded: 0.007 seconds. <<<<< |