ชายอายุ 25 ปี ขณะนั่งกินข้าวรอบดึกกับเพื่อน ชักเกร็งหมดสติ เพื่อนนำส่งรพ.ทันทีที่ห้องฉุกเฉิน เวลา 00.01 น. No respiration, no pulse, not conscious Monitor ECG เป็นดังภาพ ทีม CPR ได้ทำการ resuscitation และ defibrillation ไป 200 J ได้เป็น ECG ดังภาพต่อไป Posted by : DogtorEP , E-mail : (DogtorEP@gmail.com) , Date : 2013-08-05 , Time : 00:08:37 , From IP : 172.29.5.13 |
คำถาม....... 1. จงให้การวินิจฉัยโรคเบื้องต้นในผู้ป่วยรายนี้ 2. เราจะมีแนวทางการรักษาผู้ป่วยรายนี้อย่างไรต่อไป V/S หลัง defib : BP 100/60 mmHg, RR 30/min, PR 75 bpm, on respirator GCS : E2VtM4, no gross motor power deficit Heart : no murmur Lung : clear ปล. ลืมบอกสัญชาติของผู้ป่วย เป็นผู้ป่วยชาวพม่า มาทำงานที่สงขลา ไม่รู้ว่าอาทิตย์นี้ จะมีคนอยากคุยกะเราป่าว........อารมณ์อยากคุยยย.... Posted by : DogtorEP , E-mail : (DogtorEP@gmail.com) , Date : 2013-08-05 , Time : 00:21:03 , From IP : 172.29.5.13 |
Patient : ชายชาวพม่าอายุ 25 ปี Profile : no underlying disease Chief complaint : ชักเกร็งหมดสติ เพื่อนนำส่งรพ.ทันที Problem lists : 1. Cardiac arrest (VF) s/p electrical defibrillation. 2. AIVR 3. No structural heart disease. Discussion ในผู้ป่วยรายนี้หมดสติ คลำชีพจรไม่ได้แลพไม่หายใจ ทำให้สาเหตุของการหมดสตินั้นเข้าได้กับ cardiac arrest และเมื่อดู EKG พบว่าเป็น ventricular fibrillation โดยผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย Electrical cardioversion 200j หลังจากนั้นลักษณะ EKG ที่ปรากฎคือ regular wide complex tachycardia rate 75 bpm, QRS axis about 105 degree with RBBB appearance. แต่ไม่เห็นลักษณะของ AV dissociation, capture beat or Fusion beat. คลื่นไฟฟ้าหัวใจเข้าได้กับ ventricular rhythm ที่อัตราค่อนข้างเร็วว่าค่าปรกติของ ventricular foci แต่ความเร็วนั้นยังไม่ถึงที่จะเรียกว่า Tachycardia เราจึกเรียกว่า Accelerated Idioventricular Rhythm ซึ่งเกิดจาก abnormal calcium-dependent automatism (ectopic automaticity) ที่ affect phase 4 of action potential (diastolic depolarization) โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดอย่างนี้ได้นั้นส่วนใหญ่มาจาก Coronary cause : Reperfusion after myocardial infarction หรืออาจจะเกิดจาก post cardiac arrest ก็ได้ ส่วนในผู้ป่วยรายนี้สาเหตุหลักๆน่าจะเกิดมาจาก 1. Coronary artery disease : Atherosclerotic plaque rupture, Coronary arterial spasm. 2. Structural heart disease : Hypertrophic obstructive cardiomyopathy. 3. Cardiac Arrhythmia : Arrhythmogenic right ventricular cardiomyopathy, Woft parkinson wife, Long Ganong Lewis, Brugada syndrome, Congenital long QT. ซึ่งการที่จะได้การวินิจฉัยนั้นควรรอให้หลุดออกจาก AIVR เสียก่อนเพื่อดูลักษณะเฉพาะของแต่ละโรคบน 12 lead ECG with NSR เช่น Ischemic heart disease ( ST-T segment deviation, Q wave ), HOCM ( LVH + septal depolarization Q wave ), ARVD ( epsilon wave at V1 to V3 ), WPW ( short PR and Delta wave ), LGL ( short PR ), Brugada ( J ponit elevation in V1 to V3 ) LQT ( long corrected QTc ) ส่วนสำหรับ AIVR นั้นหากไม่มี hemodynamic instability ก็ไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาแต่อย่างไรเพราะสามารถเกิด automatic cardioversion เองได้ แต่บ้างตรั้งอาจจะให้ Atropine 0.25-1 mg เพื่อ accelerate underlying sinus rate to inhibit AIVR. ครับพยายามตอบแล้วครับแต่ไม่ดีเท่าไรครับ อาจารย์น้อยหน่าสอนด้วยครับ. Posted by : kenny , E-mail : (streptokinase@hotmail.com) , Date : 2013-09-01 , Time : 16:57:53 , From IP : 61.19.202.26 |
Patient : ชายชาวพม่าอายุ 25 ปี Profile : no underlying disease Chief complaint : ชักเกร็งหมดสติ เพื่อนนำส่งรพ.ทันที Problem lists : 1. Cardiac arrest (VF) s/p electrical defibrillation. 2. AIVR 3. No structural heart disease. Discussion ในผู้ป่วยรายนี้หมดสติ คลำชีพจรไม่ได้แลพไม่หายใจ ทำให้สาเหตุของการหมดสตินั้นเข้าได้กับ cardiac arrest และเมื่อดู EKG พบว่าเป็น ventricular fibrillation โดยผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย Electrical cardioversion 200j หลังจากนั้นลักษณะ EKG ที่ปรากฎคือ regular wide complex tachycardia rate 75 bpm, QRS axis about 105 degree with RBBB appearance. แต่ไม่เห็นลักษณะของ AV dissociation, capture beat or Fusion beat. คลื่นไฟฟ้าหัวใจเข้าได้กับ ventricular rhythm ที่อัตราค่อนข้างเร็วว่าค่าปรกติของ ventricular foci แต่ความเร็วนั้นยังไม่ถึงที่จะเรียกว่า Tachycardia เราจึกเรียกว่า Accelerated Idioventricular Rhythm ซึ่งเกิดจาก abnormal calcium-dependent automatism (ectopic automaticity) ที่ affect phase 4 of action potential (diastolic depolarization) โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดอย่างนี้ได้นั้นส่วนใหญ่มาจาก Coronary cause : Reperfusion after myocardial infarction หรืออาจจะเกิดจาก post cardiac arrest ก็ได้ ส่วนในผู้ป่วยรายนี้สาเหตุหลักๆน่าจะเกิดมาจาก 1. Coronary artery disease : Atherosclerotic plaque rupture, Coronary arterial spasm. 2. Structural heart disease : Hypertrophic obstructive cardiomyopathy. 3. Cardiac Arrhythmia : Arrhythmogenic right ventricular cardiomyopathy, Woft parkinson wife, Long Ganong Lewis, Brugada syndrome, Congenital long QT. ซึ่งการที่จะได้การวินิจฉัยนั้นควรรอให้หลุดออกจาก AIVR เสียก่อนเพื่อดูลักษณะเฉพาะของแต่ละโรคบน 12 lead ECG with NSR เช่น Ischemic heart disease ( ST-T segment deviation, Q wave ), HOCM ( LVH + septal depolarization Q wave ), ARVD ( epsilon wave at V1 to V3 ), WPW ( short PR and Delta wave ), LGL ( short PR ), Brugada ( J ponit elevation in V1 to V3 ) LQT ( long corrected QTc ) ส่วนสำหรับ AIVR นั้นหากไม่มี hemodynamic instability ก็ไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาแต่อย่างไรเพราะสามารถเกิด automatic cardioversion เองได้ แต่บ้างตรั้งอาจจะให้ Atropine 0.25-1 mg เพื่อ accelerate underlying sinus rate to inhibit AIVR. ครับพยายามตอบแล้วครับแต่ไม่ดีเท่าไรครับ อาจารย์น้อยหน่าสอนด้วยครับ. Posted by : kenny , E-mail : (streptokinase@hotmail.com) , Date : 2013-09-01 , Time : 16:59:37 , From IP : 61.19.202.26 |