ความคิดเห็นทั้งหมด : 8

An 11-YOG with ALL had febrile neutropenia, and asymptomatic persistent rash




   
เด็กหญิงอายุ 11 ปีซึ่งป่วยเป็น acute lymphoblastic leukemia มารพ. 1 เดือนหลัง induction chemotherapy เนื่องจากมี febrile neutropenia, a new diastolic murmur และ subtle asymptomatic persistent rash.
The patient had 7 asymmetrically distributed 1–6 mm erythematous macules and papules with dusky centres on her palms, cheek, and abdomen (รูป A และ B).


Posted by : cpantip , E-mail : (chpantip@medicine.psu.ac.th) ,
Date : 2010-09-20 , Time : 10:11:08 , From IP : 172.29.3.68


ความคิดเห็นที่ : 1




   1. การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรคคืออะไร
2. จะ manage อย่างไร


Posted by : cpantip , Date : 2010-09-20 , Time : 10:12:09 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 2


   differential Diagnosis (Infectious in febrile neutropenia)
1.Bacterial infection
- Gram negative Subacute : Cutaneous emboli + Endocarditis
- Gram positive Subacute : Cutaneous emboli + Endocarditis
2.Fungal Cutaneous emboli
- Candidiasis : Candida tropicalis
comment:จาก Infectious in febrile neutropenia คิดถึงการติดเชื้ออยู่สองรูปแบบที่พบบ่อยคือแบคทีเรียและรา แบคที่เรียที่พบใน Infectious in febrile neutropenia ปัจจุบันมีสถิติการติด gram negative > gram positive และอาการทางกคลินิกถ้าเป็นจาก แบคทีเรีย โดย approach จาก fever+new murmur ตาม duke criteria แล้วเข้าไม่ได้ เพราะ janeway erythma ก็ไม่ได้มีลักษณะอย่างนี้ Osler node ก็ painfull จึงไม่เอาสาเหตุจากแบคทีเรีย
สาเหตุจาก รา ที่พบได้ก็คือ Candidiasis ที่มีการกระจายตัวแล้วฟอร์มเป็น emboli ไปอุดตันผิวหนังเกิดเป็น erythematous macules and papules ได้ครับ และยังสามารถเกิด endocarditis ได้ง่ายใน host ที่มีสภาวะภูมิคุ้มกันต่ำๆ ตลอดจนระยะเวลาดำเนินโรคในผู้ป่วยรายนี้ก็สามารถอธิบายได้จาก Candidiasis. โดยในผู้ป่วยที่เป็น Leukemia or
febrile neutropenia ส่วนตัวนะครับ ผมคิดถึง Candida tropicalis
Dx:Cutaneous septic emboli with Endocarditis from Candida tropicalis
Management:
1. scrapings or smears obtained from skin under the microscope for hyphae, pseudohyphae, or budding yeast cells.
2. potassium hydroxide smear, Gram stain, or methylene blue is useful for direct demonstration of fungal cells.
3.Blood cultures+Urinalysis or serum +/- (1,3)β-D-glucan detection assay
Treatment:
1.Echinocandin ใช้ได้ดี candidemia in ใน patients with neutropenia
2.Tropical antifungal agents : clotrimazole

ตอบผิด อาจารย์ช่วยชี้แจงสั่งสอนด้วยนะครับ ผมคิดว่าข้อนี้ยากเอาเรื่องอยู่เลยครับ ไม่ค่อยแน่ใจ ขอบคุณครับ


Posted by : kenny , E-mail : (streptokinase@hotmail.com) ,
Date : 2010-09-20 , Time : 21:58:52 , From IP : 119.42.85.22


ความคิดเห็นที่ : 3




   คุณหมอ Kenny ตอบได้ดีมากค่ะ

ในรูป C คือ histopathology ของ punch biopsy จากรอยโรคที่หน้าท้องผู้ป่วย.




Posted by : cpantip , Date : 2010-09-21 , Time : 10:08:18 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 4




   ในรูป D คือ CT of abdomen.


Posted by : cpantip , Date : 2010-09-21 , Time : 10:09:33 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 5


   1. พบอะไรในรูป C และ D คะ
2. การวินิจฉัยคืออะไร


Posted by : cpantip , Date : 2010-09-21 , Time : 10:10:59 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 6


   Section ของ skin biopsy: multiple hyphae และ yeasts.
CT abdomen: multiple hypodense areas in liver, spleen and kidneys.
ทั้งหมดเข้าได้กับ disseminated candidiasis.
การรักษา ให้ amphotericin B IV จนผป. ดีขึ้นแล้วเปลี่ยนเป็นกิน fluconazole

ยังติดใจเรื่องผู้ป่วยมี new murmur ค่ะ เขาน่าจะมี infective endocarditis นะคะ ควรส่ง echocardiography ค่ะ


Posted by : lara , Date : 2010-09-22 , Time : 16:11:17 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 7


   คุณหมอ Lara ตอบถูกต้องแล้วค่ะ

Echocardiogram revealed echogenic foci on the mitral valve suspicious for fungal involvement.
ต่อมา แยกได้เชื้อ Candida tropicalis จากเลือดและม้ามของผู้ป่วย blood and splenic tissue.

ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย liposomal amphotericin B 5 mg/kg/วันนาน 19 วัน, หลังจากนั้น รอยโรคที่ผิวหนังทั้งหมดกลายเป็น hyperpigmentation. Neutrophil counts กลับมาเป็นปกติ, ผู้ป่วยไม่มีไข้ และการเพาะเชื้อของเลือดกลายเป็นลบสำหรับ C tropicalis. ผู้ป่วยได้กลับบ้านโดยได้รับยา fluconazole กินวันละครั้ง.

หลังจากกลับบ้านไป 1 สัปดาห์ ผู้ป่วยมีไข้สูง และตรวจพบว่า visceral abscesses ขนาดไม่เปลี่ยนแปลง. ผู้ป่วยได้รับ triple therapy (liposomal amphotericin B 5 mg/kg/วัน, fluconazole 10 mg/kgวัน, และ flucytosine 1000 mg/วันนาน 30 วัน.
จากการติดตามที่ 1 เดือนต่อมา รอยโรคที่ผิวหนังหายไป และ ขนาดของ visceral abscesses เล็กลง.


Posted by : cpantip , Date : 2010-09-23 , Time : 09:47:05 , From IP : 172.29.3.68

ความคิดเห็นที่ : 8


   Systemic candidiasis สัมพันธ์กับอัตราตายที่สูงและมักเกิดจาก Candida albicans. อย่างไรก็ตาม แพทย์ต้องระวังในรายที่มี disseminated disease ร่วมกับมีรอยโรคที่ผิวหนังด้วย และในผู้ป่วย leukemia เพราะ systemic candidiasis สามรถเกิดจาก C tropicalis ได้. เนื่องจากการเพาะเชื้อของเลือดอาจได้ผลลบหรือใข้เวลาในการเพาะเชื้อนานกว่าจะได้การวินิจฉัย histopathology ของรอยโรคที่ผิวหนังและการเพาะเชื้อของ tissue จะช่วยให้สามารถวินิจฉัยได้เร็วขึ้นและเริ่มการรักษาได้รวดเร็ว.

Reference: Sharon V, et al. Cutaneous septic emboli from Candida tropicalis. Lancet ID 2010;10: 652.


Posted by : cpantip , Date : 2010-09-23 , Time : 09:48:12 , From IP : 172.29.3.68

สงวนสิทธิ์การแสดงความคิดเห็นสำหรับ สมาชิกเท่านั้น