ความคิดเห็นทั้งหมด : 2

A A 38-YOM with DM+hypertension had nausea, vomiting, and epigastric pain




   ชายอายุ 38 ปีมาที่แผนกฉุกเฉินด้วยอาการคลื่นไส้ อาเจียน และปวดท้องที่ลิ้นปี่ เขามี type 1 diabetes mellitus และได้รับ insulin มาตลอด ผู้ป่วยยังกิน enalapril สำหรับการรักษาความดันโลหิตสูง

1. รูป A คือ EKG ของผู้ป่วย พบความผิดปกติอะไรบ้าง
2. การวินิจฉัยคือ...............................
3. จะ manage อย่างไร


Posted by : chpantip , E-mail : (chpantip@medicine.psu.ac.th) ,
Date : 2009-12-18 , Time : 08:47:33 , From IP : 172.29.3.68


ความคิดเห็นที่ : 1


   1. รูป A EKG เห็น Tall peak T แต่ PR น่าจะยังไม่ prolong
2. Dx: hyperkalemia
3. สาเหตุคิดว่าเป็นจาก on ACEI ซึ่งพบ side effect hyperkalemia ได้
Mx เบื้องต้น
- ส่ง lab Electrolyte และส่ง lab เพื่อ identify risk ของ hyperkalemia เช่น BUN, Cr
- ให้ Ca gluco
- RI + glucose
- Sodium bicarbonate
- kalimate
- Monitor EKG and F/U Electrolyte
- ซักประวัติ+PE ต่อเพื่อ identify risk factor ของการเกิด hyperkalemia เช่น volume depletion ใช้ยาที่มีผลต่อไต กินสมุนไพร


Posted by : sunshine , Date : 2009-12-20 , Time : 12:08:11 , From IP : 172.29.22.198

ความคิดเห็นที่ : 2




   คุณหมอ sunshine ตอบได้ถูกต้องแล้วค่ะ

The initial electrocardiogram (รูป A) revealed sinus tachycardia and ST-segment elevation in leads V1 to V3 — findings highly suggestive of acute anteroseptal myocardial infarction. Peaked T waves were noted in leads II, III, aVF, and V3 to V6.
ได้ส่ง serum glucose concentration = 839 mg/dL, arterial blood pH = 7.21, และ serum potassium concentration = 7.9 mmol per liter.
การวินิจฉัยคือ diabetic ketoacidosis

ได้ทำ electrocardiogram ซ้ำหลายชั่วโมงต่อมาเมื่อ potassium concentration ลดลงเป็น 5.1 mmol per literจากการรักษา (รูป B [ไม่ได้ใส่รูป lead V5 ]) ST-segment elevation disappeared completely, as did the peaked T waves.

ผู้ป่วยรายนี้เป็นตัวอย่างของ hyperkalemia ที่ทำให้เกิด "pseudoinfarction" pattern. สิ่งสำคัญสำหรับการวินิจฉัยที่ถูกต้องคือ T wave ใน V4, (which is tall, narrow, and pointed), with a short QT interval. Tall T waves ซึ่งเป็นลักษณะที่จำเพาะของ hyperacute ischemic changes มักจะสัมพันธ์กับ long QT interval, และ “the T waves are broad rather than narrow and pointed”.

Reference: Wang K. Pseudoinfarction pattern due to hyperkalemia. NEJM 2004; 351 (6): 593.


Posted by : chpantip , Date : 2009-12-21 , Time : 11:07:10 , From IP : 172.29.3.68

สงวนสิทธิ์การแสดงความคิดเห็นสำหรับ สมาชิกเท่านั้น