ผู้ป่วย ESRD มี MRSA bacteremia แล้วมีตาขวาแดงชายอายุ 57 ปีซึ่งมี end-stage renal disease ได้เข้ารับการรักษาในรพ.เนื่องจากมี การติดเชื้อของ AV fistula ที่แขนซ้าย. ผู้ป่วยได้รับ vancomycin ตั้งแต่แรกรับและผล blood culture ขึ้น methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA). หลายวันต่อมา เขามีอาการปวดตาขวา ร่วมกับมีตาแดงและ visual acuity ลดลง [finger count ที่ 10 นิ้ว (25 ซม.)] 1. ในรูป คือตาขวาของผู้ป่วย พบความผิดปกติอะไรบ้าง 2. การวินิจฉัยความผิดปกติของตาคืออะไร 3. จะ manage อย่างไร Posted by : chpantip , E-mail : (chpantip@medicine.psu.ac.th) , Date : 2009-01-14 , Time : 11:11:26 , From IP : 172.29.3.68 |
เห็นรายชื่อผู้ตอบแล้วดีใจมากค่ะ แล้วตอบมาอีกนะคะ คุณหมอตอบได้ถูกต้องแล้วที่ว่ามี uveitis แต่ต้องสงสัยว่ามีอะไรที่รุนแรงกว่านั้นเพราะว่า VA ลดลงด้วย ตรวจตา พบว่ามี marked subconjunctival hemorrhage (ลูกศรสั้น) และมี small hypopyon (ลูกศรยาว). Ophthalmologic examination: vitreous debris and retinal traction, ซึ่งเข้าได้กับ endogenous endophthalmitis. bacterial culture of the vitreous sample ไม่ขึ้นเชื้ออะไร (เนื่องจากผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะมาก่อนหลายวัน) ผู้ป่วยได้รับทั้ง IV vancomycin และ intravitreous vancomycin และ ceftazidime. Endogenous endophthalmitis เป็นการติดเชื้อของตาที่มีผลทำให้การมองเห็นลดลง ส่วนใหญ่เกิดจาก hematogenous spread. การวินิจฉัยและการเริ่มให้ยาปฏิชีวนะอย่างรวดเร็วมีความจำเป็น แม้ว่าการพยากรณ์โรคทางตาไม่ดี จากการติดตามที่ 8 เดือนหลังเริ่มป่วย ผู้ป่วยหายปวดตา แต่ VA ลดลงเป็น hand-motion visionและมี nearly complete retinal detachment. รูปและเรื่อง จาก Burgess EH. N Engl J Med 2007;357:163 เชื้อก่อโรคของ endogenous endophthalmitis ที่เราพบ ก็คือ Klebsiella pneumoniae ในผู้ป่วยที่มี bacteremia จากเชื้อนี้ โดยผู้ป่วยเป็นเบาหวาน มีฝีที่ตับด้วย และมักเป้นทั้ง 2 ตา การพยากรณ์โรคของตาก็ไม่ดี Posted by : chpantip , E-mail : (chpantip@medicine.psu.ac.th) , Date : 2009-01-16 , Time : 07:32:15 , From IP : 172.29.3.68 |