กล่องข้อความ: เห็นชอบจากที่ประชุมทีมบริหาร 9 กย.50 / รับรองเพิ่มเติมจากที่ประชุม กก.รพ. 24 กย.50
กลยุทธ์การพัฒนาคณะแพทยศาสตร์ ด้านบริการรักษาพยาบาล
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์/ วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดสำคัญ (KPIs) ผลการดำเนินงานปีงปม.2550 เป้าหมายปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
Strategic advantages/ เชิงกลยุทธ์ แผนระยะยาว แผนระยะสั้น Leading KPIs Lagging KPIs 2551 2552 2553 2554  
โอกาสสำหรับนวัตกรรม                    
 Ÿ - คุณภาพการรักษาที่เป็นเลิศ Œ u การรักษาที่มีคุณภาพเป็นเลิศ มุ่งสู่ระดับนานาชาติ  1.พัฒนาศักยภาพในการตรวจรักษาโรคยากอย่างต่อเนื่องให้มีผลการรักษาเทียบเท่านานาชาติ 1. ทีมบริหาร/ภาควิชากำหนด ทบทวนและปรับปรุงผลการรักษาโรคยากที่กำหนดอย่างสม่ำเสมอ (เป็นโรคที่องค์กรมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลและมีผลรายงานของสหรัฐอเมริกาอย่างสม่ำเสมอ)    1. Success rate, Complication rate, mortality rate           KPIs ภาควิชา
             
 Ÿ - การก้าวทันเทคโนโลยีทางการแพทย์                
               
 Ÿ- ความเหนือกว่าด้านตรวจรักษาโรคยากซับซ้อน                
    2. ทีมบริหาร / Excellence center กำหนด ทบทวน และปรับปรุงผลการรักษาโรคยากที่กำหนดอย่างสม่ำเสมอ (เป็นโรคที่องค์กรมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลและมีผลรายงานของสหรัฐอเมริกาอย่างสม่ำเสมอ)  2.  มีศูนย์ความเป็นเลิศด้านมะเร็งเต้านม (Excellence CA Breat)   ระหว่าง เปิดให้       KPIs ทีมบริหารรพ.
    ออกแบบ บริการ      
 Ÿ - นวัตกรรมด้านการรักษาพยาบาลโรคยาก        3.  Success rate, Complication rate,   mortality rate (lag-2)                Excellence center
               
                     
                     
      3. พัฒนาศักยภาพในการรักษาโรคในภาพรวมของภาควิชาให้ได้ตามมาตรฐาน Benchmarking* 4. disease specific risk      - 5 โรคแรก  5 โรคแรก  5 โรคแรก    KPIs ภาควิชา
            ที่เป็น  ที่เป็น  ที่เป็น     
            high risk high risk high risk    
           5. ผลการรักษาโรคยากที่ภาควิชากำหนด (lead ข้อ 4)            KPIs ภาควิชา
                     
        6. จำนวนเตียง (สะสม)   อยู่ระหว่างการปรับปรุง เปิดให้บริการ เปิดให้บริการ เปิดให้บริการ   KPIs ทีมบริหารรพ.
           -  Surgical RCU (12 เตียง)   6 เตียง 9 เตียง 12 เตียง  
           -  Surgical ICU (12 เตียง)     6 เตียง 9 เตียง 12 เตียง    
          7. อัตราผู้ป่วยที่ต้องรับกลับเข้า รพ.             
          โดยไม่ได้วางแผน (%/ราย) (lead ข้อ 6)            
                -  ภายใน 7 วัน 0.82 /216 0.80% 0.78% 0.76% 0.74%  
                -  ภายใน 31 วัน 2.53 /668 2.51% 2.49% 2.47% 2.45%  
      4. ให้ PCT ภาควิชากำหนด ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตาม KPIs  8. KPI ที่แต่ละภาควิชากำหนด              KPIs ภาควิชา/PCT
                 
      5. ติดตามผลการดำเนินการตาม patient safety goal ที่โรงพยาบาลกำหนด  9. มีการเปิดจุดตรวจและคัดกรองผู้ป่วยเพื่อควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อทางอากาศเสร็จสิ้น   อยู่ระหว่าง เปิดให้        
        ปรับปรุง บริการ        
                     
          10. Patient Safety Index(8 ด้าน)(leadข้อ9)           KPIs ทีมบริหารรพ.
          10.1 ด้านการบ่งชี้ผู้ป่วยให้ถูกต้อง (ครั้ง)          
              - ระบุตัวผิดในการให้ยา  18 17 16 15 14  
              - ระบุตัวผิดในการให้เลือด 2 0 0 0 0  
              - ระบุตัวผิดในการเก็บสิ่งส่งตรวจ  172 ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5%  
            จากปีก่อน จากปีก่อน จากปีก่อน จากปีก่อน  
              - ระบุตัวทารกแรกเกิดผิด 0 0 0 0 0  
          10.2 ด้านความผิดพลาดในการให้ 0.15% ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน  
          บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย (ถ่าย-ส่ง (169 ราย) 0.145% 0.14% 0.135% 0.13%  
          ภาพเอกซเรย์ผิดคนผิดตำแหน่ง)            
          10.3 ด้านความผิดพลาดในการทำผ่าตัด            
           - ผิดคน 0 0 0 0 0  
           - ผิดประเภท 0 0 0 0 0  
           - ผิดตำแหน่ง 0 0 0 0 0  
          10.4 ด้านความเสี่ยงของผู้ป่วยต่อการตกเตียง ลื่น หกล้ม            
                     
             - ตกเตียง (ต่อ 1,000 วัน) 0.189(22) 0.12 0.12 0.1 0.1  
             - ลื่น หกล้ม (ราย) 16 15 14 13 12  
             - การประเมินแรกรับ 78.21% 80% 85% 90% 95%  
          10.5  ด้านความผิดพลาดในการส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ (LAB)            
                     
             - การระบุข้อมูล 0.33/291 ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5%  
             - การรายงานผล 0.07/66 ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5% ลดลง 5%  
          10.6 ด้านการพัฒนาความปลอดภัยในระบบ            
                ยาสารน้ำ            
          ผู้ป่วยนอก (ต่อ 1000 คน/ครั้ง)            
             - precribing error 2.92( 1080ครั้ง) <1.91 <1.91 <1.85 <1.85  
             - pre - dispensing 10.9( 4018ครั้ง) <8.39 <8.39 <8.00 <8.00  
             - dispensing 0.12(43ครั้ง) <0.09 <0.09 <0.08 <0.08  
          ผู้ป่วยใน (ต่อ 1000 วันนอน/ครั้ง)            
             - precribing error 14.6( 2924ครั้ง) <14 <13 <12 <11  
             - pre - dispensing 10.9( 2191ครั้ง) <10 <9.5 <9.0 <8.5  
             - dispensing 0.87(174ครั้ง) <0.62 <0.62 <0.60 <0.60  
          Administration error (near miss)** 384 ไม่ตั้งเป้า รายงานในระบบ
          Administration error ( miss) 0.74/150 <0.54 <0.54 <0.50 <0.50  
          ผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ 2 ไม่ตั้งเป้า รายงานในระบบ
          ผู้ป่วยที่ป้องกันได้จากการสั่งยาที่เคยแพ้** 78 ไม่ตั้งเป้า รายงานในระบบ
          การประเมินทักษะผู้ใช้งานเครื่องควบคุมการไหลของสารน้ำ** ยังไม่ถึงรอบประเมิน ไม่ตั้งเป้า รายงานในระบบ
                     
          10.7  ด้านลดอัตราเสี่ยงของการติดเชื้อในโรงพยาบาล            
                     
             - SSI 0.87 1 เท่าNNIS 1 เท่าNNIS 1 เท่าNNIS 1 เท่าNNIS  
             - VAP 2.28 < 25 per < 25 per < 25 per < 25 per  
             - CR-BSI  7.29 < 50 per < 50 per < 50 per < 50 per  
             - การล้างมือ            
               ก่อน  84.42% 80% 80% 80% 80%  
               หลัง 98.42% 80% 80% 80% 80%  
          10.8  ด้านประสิทธิผลของการสื่อสาร 2 ครั้ง  0 0 0 0  
          ระหว่างทีมผู้ให้การรักษา            
     2. ติดตาม morbidity rate ในโรคที่กำหนด 6. ติดตาม morbidity & mortality rate  ในโรคที่กำหนด   11. อัตราการเสียชีวิตและการบาดเจ็บในโรคที่ภาควิชากำหนด            KPIs ภาควิชา
               
        12. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยในภาพรวม 2.42% <2.3 <2.25 <2.25 <2.25 KPIs ทีมบริหารรพ.
          (634 ราย)        
           13. อัตราตายของผู้ป่วยในห้องผ่าตัด elective case 0.004 0.001 0.001 0.0005 0.0005  
                     
           14. อัตราตายภายใน 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัด  ปี 2549          
             - ASA I 0 0 0 0 0  
             -  ASA II 0 0 0 0 0  
             - ASA III 0.6 <1 <1 <1 <1  
             -  ASA IV 4.07 <5 <5 <5 <5  
             -  ASA V 28.85 <30 <30 <30 <30  
           15. อัตราตาย aortic valve replacement 0 0 0 0 0  
                       
           16. อัตราตายผู้ป่วยผ่าตัดปิด artrial septal defect 0 0 0 0 0  
                     
           17. อัตราตายผู้ป่วยผ่าตัดปิด ventricular septal defect 0 0 0 0 0  
                     
 Ÿ- การตอบสนองความต้องการด้านคุณภาพการให้บริการที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง v การบริการที่สร้างความพึงพอใจและความภักดี  1. เรียนรู้และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 7. พัฒนาระบบนัดผู้รับบริการ รวมทั้งปรับระบบให้ผู้ป่วยทุกรายอยู่ในระบบนัดผู้ป่วย 18. ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจตรงตามนัด (-10, +20 นาที)   39.71% 40% 45% 50% 55% KPIs ทีมบริหารรพ.
         
8. ประเมินและปรับปรุงพฤติกรรมการบริการของผู้ให้บริการ และกำหนดเป็นปัจจัยหลักในการประเมินบุคลากร 19. จำนวนเรื่องร้องเรียน (ด้านพฤติกรรม     รายงานในระบบ  
 บริการ /การสื่อสาร)**              
 - นวัตกรรมด้านการบริการ                
    9.นำระบบสารสนเทศมาพัฒนาการบริการ               KPIs รองเวชสารสนเทศ
      (ให้กำหนดว่ามีหัวข้อการพัฒนาอะไรบ้าง              
      ที่จะนำระบบสารสนเทศมาช่วย)                
      10.จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาตลาด               รองฯ วิจัย
           20. ร้อยละของผู้ป่วยที่กลับมารักษาเมื่อป่วยครั้งต่อไป           KPIs ทีมบริหารรพ.
                   
             20.1  ผู้ป่วยนอก 77.9 80 81 82 83  
             20.2  ผู้ป่วยใน 86 87 88 89 90  
             20.3  ผู้ป่วยฉุกเฉิน 76.3 77 78 79 80  
           21. ร้อยละของผู้ป่วยที่จะแนะนำให้ผู้อื่นมารักษาต่อที่โรงพยาบาลฯ            
                     
             21.1  ผู้ป่วยนอก  79.1 80 80 82 82  
             21.2 ผู้ป่วยใน 85.1 85 85 87 87  
             21.3 ผู้ป่วยฉุกเฉิน 78 78 78 80 80  
          22. ความพึงพอใจของผู้ป่วยใน 4.43 4.43 4.44 4.45 4.46  
           23. ความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก 4.04 4.12 4.14 4.16 4.18  
           24. ความพึงพอใจของผู้ป่วยฉุกเฉิน 3.86 4.02 4.04 4.06 4.08  
      11. ลดเวลารอคอยของจุดบริการหลัก  25. Waiting Time               
               จุดบริการหลัก (นาที)              
              25.1 รอจ่ายเงิน   19 18 18 18 18  
              25.2 รอรับยา   20 20 20 18 18  
              25.3 ระยะเวลารอตรวจทางห้องปฏิบัติการ (LAB)   10 10 10 9 9  
                     
      12. พัฒนาหน่วยงาน CRM รวมทั้งบริหารจัดการข้อร้องเรียนอย่างรวดเร็ว  26. การบริหารเรื่องร้องเรียน    75.68% 90% 90% 95% 95%  
             26.1 การบริการทั่วไป              
                       - ปิดแฟ้มทันที   14% 15% 15% 16% 16%  
                       - ปิดแฟ้ม < 7 วัน   67.04% 68% 70% 72% 75%  
                       - ปิดแฟ้ม < 15 วัน   75% 78% 78% 80% 80%  
               26.2 ทางการแพทย์   0 0 0 0 0  
      13. ปรับระบบให้เอกสารเบิกจ่ายมีความถูกต้องและรวดเร็ว  27. ร้อยละของเอกสารทางการแพทย์ที่เสร็จภายในเวลาที่กำหนด              
                   
              27.1 ใบ refer   82.36% 83% 84% 85% 86%  
              27.2 ใบรับรองแพทย์ประกอบการทำ    ธุรกรรม (ภายใน 7 วัน)   82.86% 83% 84% 85% 86%  
                     
      14. ปรับปรุงสถานที่ห้องฉุกเฉิน  28. มีการปรับห้องฉุกเฉินด้านบริการผู้ป่วยเสร็จสิ้น (Phase II)   ชะลอการปรับ ER ไว้ก่อน เนื่องจากมีศูนย์อุบัติเหตุฉุกเฉิน  
           
  - การปรับตัวต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งมีปัญหาด้านการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล Ž w ฐานะทางการเงินที่มั่นคง และมีเงินพอสามารถพัฒนาต่อได้  1. ขยายฐานผู้รับบริการกลุ่มที่มีกำลังจ่ายค่ารักษาพยาบาล 15. เพิ่มมูลค่าเพิ่ม (value-added) ของกระบวนการรักษาพยาบาลโรคยากซับซ้อน  29. จำนวนคลินิกนอกเวลาราชการเพิ่มขึ้น   18 20 20 20 20  
 30.  จำนวนผู้ป่วยใน (กลุ่มเป้าหมาย จ่ายเงินเอง   17.31% 20% 22% 24% 26%  
16. ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น (waste management) ประกันชีวิต)              
 31. อัตราค่ารักษาพยาบาล ต่อ 1 RW**   17,000 ไม่เกิน18,000 ไม่เกิน19,000 ไม่เกิน20,000 ไม่เกิน21,000 รายงานในระบบ
17. พัฒนาระบบการบริการผู้รับบริการกลุ่มที่มีกำลังจ่ายค่ารักษาพยาบาล รวมทั้งเพิ่มหอผู้ป่วย privatization        
                 
 - ความเหนือกว่าด้านการตรวจรักษาโรคยากซับซ้อน                    
    18. ปรับค่ารักษาพยาบาลตามต้นทุน  32. รายรับค่ารักษาพยาบาลทางบัญชี (ลบ.)   1,654 2,000 2,300 2,500 2,800  
    19. เร่งรัดหนี้สินรวมทั้งปรับปรุงกระบวนการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล  33. สัดส่วนความสมบูรณ์ของแฟ้มเวชระเบียน              
 - นวัตกรรมด้านธุรกิจ             - ณ วันที่ 6 (ประกอบเบิกจ่าย)   90.76 91 92 93 94  
                - ณ สิ้นเดือนถัดไป   99 99.5 99.5 99.5 99.5  
           34. Net profit margin** 14.58 15 15 15 15 รายงานในระบบ
           35. Current ratio** 24.35 25 25 25 25 รายงานในระบบ
           36. Market share** 9.80% 10.30% 10.80% 11.30% 11.80% รายงานในระบบ
 Ÿ - .การก้าวทันเทคโนโลยีทางการแพทย์ xด้านบุคลากร  1. พัฒนาบุคลากรตามแนวทาง Competency รวมถึงความสามารถตรวจรักษาโรคซับซ้อน 20. พัฒนาบุคลากรตามแนวทาง Competency (ความสามารถตรวจรักษาโรคซับซ้อน) ของศูนย์ความเป็นเลิศด้านโรคหัวใจ และระบบทางเดินอาหาร    37. จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผน Competency      80% 85% 90% 95% กก.ศูนย์
4.1 การเพิ่มสมรรถนะของบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ             ความเป็นเลิศ,
 Ÿ - ความเหนือกว่าด้านตรวจรักษาโรคยากซับซ้อน      - สายสอน / บริการ             รองฯ พัฒนา
     - สายบริการ              บุคลากร
     - สายสนับสนุน              
 Ÿ - การมีทรัพยากรบุคคลเพียงพอต่อการพัฒนา     38. ผลการประเมิน Common competency     > level 4 > level 4 > level 4 > level 4 รองฯ พัฒนา
          80% 80% 80% 80% บุคลากร
        39.  Labor productivity** 0.14 0.15 0.15 0.17 0.17 รายงานในระบบ
          40.  Labor cost competitiveness** 80.5 82 82 85 85 ข้อ 38-39
          41. อัตราการย้ายออก (% / คน)            
          -          สายสอน / บริการ 0.85 / 2 คน <2% <2% <2% <2%  
          -          สายบริการ (พยาบาล) 4.46 / 45 คน <5% <5% <5% <5%  
           42. ความพึงพอใจของบุคลากร 74.80% 75% 75% 75% 75%  
           43. ความไม่พึงพอใจของบุคลากร 2.16% 2% 2% 1.50% 1.50%  
   4.2 จัดหาและธำรงรักษาบุคลากร 2. การจัดหาบุคลากรให้เพียงพอกับภาระงาน 21. ประชาสัมพันธ์โรงพยาบาลที่สถาบันการศึกษา (แหล่งผลิตพยาบาล)  44.ร้อยละของบุคลากรที่เพิ่มขึ้นตามความจำเป็นของภาระงาน             รองฯ พัฒนา
              บุคลากร
  22. ให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาพยาบาล -          สายสอน / บริการ   9.5 5% 5% 5% 5%  
      -          สายบริการ (พยาบาล)     5% 5% 5% 5%  
     3. ส่งเสริมความ ก้าวหน้าในการงาน 23 จ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน                
    24. ยกย่องชมเชย ให้รางวัลบุคลากรที่ทุ่มเท                
  4.3 การสร้างเสริมสุขภาพบุคลากร ส่งเสริมอาชีวอนามัยและจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี (Healthy workplace)  4. ปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีสุขอนามัย ปลอดภัย อาชีวอนามัยที่จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี (Healthy workplace) 25. ปรับปรุงสถานที่ทำงานให้มีสุขอนามัย ปลอดภัย มีการป้องกันภัย  45. จำนวนครั้งการซ้อมแผนอัคคีภัย / แผนป้องกันการก่อการร้าย             KPIs ทีมบริหารรพ.
             
   46. จำนวนหน่วยงานที่สำรวจความเสี่ยงด้านกายภาพ   100% 100% 100% 100% 100%  
                 
  26.ลดการติดเชื้อจากการทำงาน 47. อัตราบุคลากรที่ติดเชื้อวัณโรค   0.15 0.142 0.142 0.142 0.142  
    48. อัตราบุคลากรที่ได้รับอุบัติเหตุเข็มตำ   15 15 15 15 15  
    (ครั้งต่อ 100 เตียง)              
    49. อัตราบุคลากรติดเชื้อ HIV จากการปฏิบัติงาน   0 0 0 0 0  
                 
    27. มีการตรวจสุขภาพบุคลากรกลุ่มเสี่ยงประจำปี  50. ร้อยละของบุคลากรที่มี BMI เกินมาตรฐานและได้รับการบำบัด             รองฯ พัฒนา
                  บุคลากร
      28 มีการวัดสมรรถภาพบุคลากรประจำปี  51. ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วม One mile walk test              
                     
      29. โครงการสร้างเสริมสุขภาพ เช่น กิจกรรมส่งเสริม 5 อ(อาหาร,อากาศ,ออกกำลังกาย,อารมณ์ และอบายมุข) 52. ผลการประเมินสมรรถภาพ (ดี / ดีมาก /               
      ดีเยี่ยม)              
      53. จำนวนกิจกรรมที่จัด              
 Ÿ - การควบคุมต้นทุนค่ารักษาพยาบาล y การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการรักษาพยาบาลโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม  1. ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า 30. กำหนดแนวทางและติดตามการตรวจรักษาโรคให้เป็นมาตรฐาน (CPG) 54. จำนวน CPG**             KPIs ทีมบริหารรพ.
  55. จำนวนวันนอนโรงพยาบาล 7.8 7.7 7.7 7.6 7.6
 Ÿ  - การปรับตัวต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งมีปัญหาด้านการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล      - โรคยาก                
     - โรคที่พบบ่อย                
 2. การวิเคราะห์และควบคุมต้นทุน รวมทั้งการบริหารคลังพัสดุ      - โรคที่เป็นปัญหา                
31. นำระบบสารสนเทศมาพัฒนากระบวนการรักษาและกระบวนการสนับสนุน   -  ดูผลลัพธ์จากแผนกลยุทธิ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อ 1             KPIs รองเวชสารสนเทศ
           
             
 Ÿ - การก้าวทันเทคโนโลยีทางการแพทย์                  
                   
 Ÿ- ความเหนือกว่าด้านตรวจรักษาโรคยากซับซ้อน     32. กำหนดให้ทุกหอผู้ป่วยมี Discharge Planning ในโรคที่มีปัญหาในการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน  56. จำนวน Discharge Planning (สะสม)   11 16 21 26 31 KPIs ทีมบริหารรพ.
     
     
Ÿ  - นวัตกรรมด้านการปฏิบัติการ     33. มี Utilization Review สำหรับครุภัณฑ์ที่ราคาเกิน 5 ล้านบาท 57. ร้อยละของครุภัณฑ์ที่ราคาเกิน 5 ล้านบาท ที่มี Utilization Review             รองบริหาร
                 
      34. ให้ภาควิชามี Quality / Efficiency Round  58. ร้อยละของภาควิชาที่มี Quality / Efficiency Round             KPIs ภาควิชา
       
        59.  อัตราค่ารักษาพยาบาลต่อ 1 RW** รายละเอียดตามแผนระยะสั้น ข้อ 18 KPIs ทีมบริหารรพ.
      35. ทบทวนการรักษาผู้ป่วยที่อยู่โรงพยาบาลเกิน 1 เดือน 60. อัตราการทบทวนการรักษาผู้ป่วยกรณีที่อยู่รพ. เกิน 1 เดือน     50% 50% 50% 50%
                 
      36. บริหารจัดการการใช้ทรัพยากร ได้แก่ เวลา สถานที่ ค่าใช้จ่าย บุคลากรและขั้นตอนการทำงาน  61. อัตราการจองต่อการใช้เลือด (C:T ratio)   2.07:1 <2:1 <2:1 <2:1 <2:1
       62. ประสิทธิภาพการใช้ห้องผ่าตัด (ในเวลาราชการ)   90.77 91 91 92 93
                   
      63. อัตราการครองเตียง ICU   91.67 92 92 95 95
          64. อัตราการครองเตียง 87.1 87.5 88 88.5 89
          65. อัตราการครองเตียงผู้ป่วย PRIVATE           
               - หอผู้ป่วยพิเศษเฉลิมพระบารมี 11 67.62 75 80 85 90
               - หอผู้ป่วยพิเศษเฉลิมพระบารมี 12 61.61 75 80 85 90
          66. Inventory turnover** 11 11.2 11.3 11.4 11.5 รายงานในระบบ
 Ÿ - การตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนเกี่ยวกับการชี้นำด้านสุขภาพ z การชี้นำชุมชนด้านสุขภาพ 1. สร้างความเข้มแข็งด้านการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ชุมชน 37. โครงการให้ความรู้และเงินสนับสนุนแก่ชุมชน 67. จำนวนโครงการหรือกิจกรรม   28 30 30 36 36 KPIs ทีมบริหารรพ.
68. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรม   2,668 2,800 3,000 3,200 3,400
  69. จำนวนเงินสนับสนุน**   4.5 ล้าน 5.7 5.9 6.1 6.3 รายงานในระบบ
38. สนับสนุนให้โรงพยาบาลในภาคใต้ตอนล่างมีการพัฒนาด้านคุณภาพ 70. จำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพภาคใต้ : จำนวนที่ผ่านการประเมินในแต่ละระดับ             KPIs ทีมบริหารรพ.
               
                     
            - จำนวน รพ. (สะสม)   72 74 76 78 80  
            - รพ. ผ่านบันไดขั้นที่ 1    -  -  -  -  -  
            - รพ.ผ่านบันไดขั้นที่ 2   13  -  -  -  -  
            - รพ.ได้รับ HA (สะสม)**   3 5 7 9 11 รายงานในระบบ
      39. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนผ่านเวทีสุขภาพ 71. จำนวนครั้ง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสุขภาพ     12 12 12 12  
      72. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสุขภาพ              
                     
                       
  { บูรณาการรักษาพยาบาล การเรียนการสอน และการวิจัยให้ไปในทิศทางเดียวกัน และส่งเสริมซึ่งกันและกัน   40. พัฒนาระบบสารสนเทศด้านรักษาพยาบาลที่เอื้อต่อการวิจัย 73. มี software ซึ่ง special clinic ลงผลผู้ป่วยและนำประมวลผลได้             รองฯ ฝ่าย
                สารสนเทศ
      74. มี software ในการจัดเก็บข้อมูลที่ scan จากแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยเก่า              
                   
    41. นำ evidence based มาปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาล เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน 75. จำนวน CPG             KPIs ภาควิชา
    76. จำนวน Clinical tracer ของภาควิชา              
                   
    42. นำงานวิจัยของภาควิชามาปรับประสิทธิภาพการบริการรักษาพยาบาล เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน 77. จำนวนโครงการวิจัยที่นำมาปรับประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล             รองฯ รพ.,รองฯ วิจัย
                 
                   
      43. ให้ทุกภาควิชามีงานวิจัยที่ร่วมกันทำ ระหว่างสายสอน/บริการกับสายบริการอย่างน้อย 1 - 2 เรื่อง/ปี 78. จำนวนงานวิจัยที่ร่วมกันทำระหว่างสายสอน/บริการกับสายบริการ            
                 
       79. จำนวนโครงการวิจัยที่เกิดจากงานประจำ             
  | นำหลักการ TQA มาใช้เป็นแนวทางการบริหารและพัฒนาคุณภาพต่อยอด HA   44. ให้ความรู้ ทำความเข้าใจเรื่องเกณฑ์มาตรฐาน HA TQA อย่างต่อเนื่อง 80.  จัดการสำรวจ Internal Survey ปีละ 1 ครั้ง   / / / / / KPIs ทีมบริหารรพ.
    81. ผ่านการสำรวจ Surveillance survey      /      
    45. ประเมินตนเองตามแนวทาง HA/TQA และระบุประเด็นที่เป็นปัญหา 82. จำนวนหน่วยงานที่มีการสื่อสารและถ่ายทอดอย่างเป็นระบบ   100% 100% 100% 100% 100%  
                 
    46. แก้ไข / ปรับปรุงกระบวนการสื่อสารและถ่ายทอดสู่บุคลากรทุกระดับ   83. ผ่านการรับรอง re-accreditation         /    
      84. ได้รับรางวัล TQC  /          
                   
หมายเหตุ   ตัวชี้วัด ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่รายงานในระบบโรงพยาบาล