กลยุทธ์การพัฒนาคณะแพทยศาสตร์ ด้านการเรียนการสอน (Undergraduate)
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (O)
1.ให้บริการเหนือความคาดหวังที่ตอบสนองต่อความ 1. สร้างและพัฒนาความเป็นเลิศต่างๆ  1. มีผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ และเป็นตัวอย่างที่ดี 1. มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
ต้องการของผู้ใช้บริการ 2. พัฒนาเพื่อให้สามารถรักษาโรคยาก ให้แต่ผู้อื่นได้ 2. มีรายรับเพียงพอสำหรับการพัฒนาและขยายงาน
2. สร้างความเชื่อมั่น ศรัทธา และประทับใจ และสามารถเทียบเคียงระดับนานาชาติ 2. นำงานวิจัยมาพัฒนาการบริการรักษาพยาบาล  
3. ตอบสนองความต้องการของนักศึกษา และบุคลากร 3. จัดระบบบริหารจัดการให้มี 3. สร้างองค์ความรู้ใหม่จากงานประจำ (R<-->R)  
ทางการแพทย์ ประสิทธิภาพ และใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ 4. จัดระบบการบริการที่ดี ที่เป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นได้  
    5. มีระบบจัดเก็บความรู้และถ่ายทอด  
Action Plan (A)
  1. จัดระบบการทำงานเป็นทีม เพื่อฟื้นฟู    
  ป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพ    
  2. จัดสถานที่ / เครื่องมือให้พียงพอ    
  สำหรับการเรียนการสอน    
  3. จัดระบบการบริการ การบันทึกข้อมูล    
  ผู้ป่วยให้เอื้อต่อการเรียนการสอน และการวิจัย    
 
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (O) กลยุทธ์ (แผนปฏิบัติการระยะยาว) วิธีการดำเนินงาน (แผนปฏิบัติการระยะสั้น) KPIs  หมายเหตุ
Undergraduate        
1. พัฒนาระบบการเรียนการ 1. ทบทวนระบบการเรียนการสอนแบบ PBL ค้นหาสิ่งที่ต้องปรับปรุง 1. คุณภาพและมาตรฐานของ sceinario   KPIs คณะ
สอนแบบ PBL ให้เป็น นำไปพัฒนา (กำหนด PI ภายในธค.49) เพื่อให้เป็นมาตรฐานระดับสาก 2. คุณภาพของ facilitator    
มาตรฐาน(ระดับสากล) (1)  (ภายในสิ้นปี 50)  และนำไปเทียบเคียง (Benchmarking)     - ทดสอบก่อนสอนจริง     
   กับสถาบันในต่างประเทศที่ใช้ระบบ PBL     - ประเมินผลการเรียนการสอนโดยนักศึกษา    
        - กำหนดให้มีพี่เลี้ยงในการเป็น facilitator    
    3. กระบวนการทำงานภายในกลุ่มนักศึกษา    
     (group functioning)    
    4. กำหนดให้ทีมบริหารและหัวหน้าภาคอบรม    
    และคุม PBL 1 ครั้ง/ปี    
         
2. พัฒนานักศึกษาให้สามารถ 1. พัฒนาหลักสูตรด้านการศึกษาทั่วไป  1. สร้างกิจกรรมเสริมหลักสูตร    KPIs คณะ
ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง   2. พัฒนาหลักสูตร     
และใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข 2. ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตรที่กำหนดให้นักศึกษามีส่วนร่วมคนละ 1      
และมีคุณธรรม กลุ่มกิจกรรมในทุกชั้นปี      
  2.1 กำหนดลักษณะกิจกรรมที่ทำให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ตนเอง เข้าใจ      
  ผู้อื่น และสามารถจัดการความสัมพันธ์/ประยุกต์ทฤษฎีทางจริยธรรม      
  ในชีวิตประจำวันได้      
  2.2 กำหนดให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ช่วยเหลือ      
  สังคม ปีละ 2 ครั้ง      
  3. แผนการพัฒนานักศึกษา      (KPIs ทีมบริหาร
      เพื่อสร้างเสริมให้นักศึกษามีการพัฒนา     ด้านกิจการนศ.)
  ตนเองให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และมีคุณ      
  ลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตแพทย์ตาม      
  ที่กำหนดในพันธกิจของคณะแพทยศาสตร์       
      3.1 ส่งเสริมทักษะการประเมินตนเองด้าน 1. มีโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริม 1.จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะในการประเมินตนเอง  
  การเรียน  อารมณ์ พฤติกรรมและสังคม ให้นักศึกษามีทักษะในการประเมิน 2.นักศึกษาทุกคนมีโอกาสประเมินตนเอง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  
    ตนเองทุกด้าน 3.องค์กรชั้นปีประเมินตนเองในภาพรวม 1 ครั้ง/ปี  
      4.สโมสรนักศึกษาประเมินตนเองในภาพรวม 1 ครั้ง/ปี  
      5.กรรมการชั้นปีประเมินตนเองในภาพรวม 1 ครั้ง/ปี (KPIs ทีมบริหาร
      6.กรรมการหอพักประเมินตนเองในภาพรวม 1 ครั้ง/ปี ด้านกิจการนศ.)
      3.2 ส่งเสริมการเข้าใจผู้อื่น  การสื่อสาร  1.มีกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาคณะอื่น 1. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 - 5 เข้าร่วม  
  การทำงานเป็นทีมและการเรียนรู้สังคมไทย หรือเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม กิจกรรมด้านนี้   
    2. มีกิจกรรมที่ให้โอกาสนักศึกษา 1. นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่1และ 2   
    แพทย์ดูแลผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ป่วยโดย เข้าร่วมกิจกรรมด้านนี้ร้อยละ 100  
    เป็นกิจกรรมต่อเนื่อง 2. จำนวนกิจกรรมด้านนี้ (ใหม่)  
    3. มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สังคม 1.จำนวนกิจกรรมการเรียนรู้สังคมและวัฒนธรรมไทย  
    และวัฒนธรรมไทย  2.จำนวนนักศึกษาแพทย์ที่เข้าร่วมแต่ละกิจกรรม  
      นักศึกษาแพทย์ในชั้นปรีคลินิกทุกคนเข้าร่วม กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม  
     3.4พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ 1.จัดให้นักศึกษาแพทย์มีประสบ 1.จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการวิเคราะห์และ  
  และส่งเสริมความคิดเชิงจริยธรรม การณ์จริงในสังคมหรือผู้ป่วยเพื่อ ความคิดเชิงจริยธรรม  
    พัฒนาการวิเคราะห์เชิงจริยธรรม 2.จำนวนนักศึกษาแพทย์ที่เข้าร่วมกิจกรรม  
     3.5 พัฒนาทักษะในการดำเนินชีวิตอย่าง 1.จัดกิจกรรมทักษะชีวิตและสังคม 1.นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1 เข้า  
  มีความสุข สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1ทุกคน ร่วมกิจกรรมร้อยละ 100  
    2.จัดกิจกรรมทักษะชีวิตและสังคม 1.จำนวนนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกที่เข้าร่วมกิจกรรม  
    สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกในกิจกรรมวันพุธบ่าย 2.จัดกิจกรรมทักษะชีวิตในกิจกรรมวันพุธบ่ายอย่างน้อย  10 กิจกรรม  
    3.ส่งเสริมให้กลุ่มกิจกรรมเสริมทักษะ 1.มีชมรมในสังกัดสโมสรอย่าง  
    ชีวิตและสังคมเป็นชมรมภายใต้การดูแลของสโมสรนักศึกษา น้อย  2 ชมรม  
     3.6 ส่งเสริมด้านสติปัญญาและเจตคติใน 1. พัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละ  
  การประกอบวิชาชีพแพทย์ เจตคติในการศึกษาและการประกอบวิชาชีพแพทย์ ครั้งจากกลุ่มเป้าหมาย  
     3.7 ส่งเสริมสุขภาพนักศึกษาแพทย์ 1. สนับสนุนให้ฝ่ายสร้างเสริมสุขภาพ 1. จำนวนกิจกรรมที่จัด  
     เพื่อให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหา นักศึกษาแพทย์จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักศึกษาแพทย์ 2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งจากกลุ่มเป้าหมาย  
  ได้อย่างเหมาะสมทันท่วงที ให้นักศึกษา มี 1.พัฒนาอาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนให้มีความรู้ ความสามารถพื้นฐานในการ 1.จำนวนโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะการเป็น  
  โอกาสพัฒนาตนเองต่อไปได้อย่างเต็มศักย เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา  
  ภาพและสำเร็จการศึกษาตามเวลาที่กำหนด 2.จำนวนอาจารย์ที่ผ่านการพัฒนาด้านนี้  
    2.จัดกิจกรรมเสริมสร้างเจตคติและบุคลิกภาพให้กับนักศึกษาแพทย์ที่มี 1.จำนวนกิจกรรมเสริมสร้างเจตคติและบุคลิกภาพให้กับนักศึกษาแพทย์ที่มีปัญหา  
    ปัญหาด้านนี้    
    3.มีการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา 1.จำนวนกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาแต่ละบุคคลร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา  
    ตามความถนัดแต่ละบุคคลร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา 2.จำนวนนักศึกษาที่ไม่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร  
      (เฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย)(ศึกษาอัตราเทียบกับคณะ(ศึกษาอัตราเทียบกับคณะ  
      แพทยศาสตร์ที่อื่น) (รายงานสาเหตุการลาออก)  
3. นักศึกษาพึงพอใจและภูมิใจ 1. พัฒนาการเรียนการสอน และการประเมินผลให้สอดคล้องกับการสอบ 1. วิเคราะห์ข้อสอบให้สอดคล้องกับศูนย์ประเมินฯ 1. จำนวนอาจารย์ที่ผ่านการอบรมและพัฒนา KPIs คณะ
ในระบบการเรียนการสอน ของศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพ     ต่อเนื่องด้านแพทยศาสตรศึกษา  
ในคณะแพทยศาสตร์  เวชกรรมแพทยสภา (Competencies assessment and accreditation  1.1 อาจารย์ใหม่ทุกคนผ่านการอบรม  
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  examination)      แพทยศาสตรศึกษาพื้นฐาน  (ภายใน 1 ปี)  
(ระบบการเรียนการสอนของ   2. จำนวนผลงานวิจัยด้านแพทยศาสตรศึกษา  
คณะแพทยศาสตร์    3. จำนวน CAI ที่ผลิต   
ตอบสนองต่อความต้องการหลัก 2. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้นักศึกษาสอบผ่าน การสอบของศูนย์       (ใหม่/ปรับปรุงอย่างน้อย 30%)  
ของผู้เรียน) ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม 4. จำนวนวิชาที่มี Virtual classrooms(2)  
  แพทยสภา (Center for medical competencies assessment  5. จำนวนวิชาที่มี CAI(3)  
  and accreditation examination) ไม่น้อยกว่า 90% 6. ระดับผลการประเมินคุณภาพการศึกษา  
  3. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในการดูแลเรื่อง Professionalism       จากภายใน  
  ทั้งกิจกรรมในและนอกหลักสูตร 7. จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน National  
      - เพิ่ม contact hours ของอาจารย์ ให้นักศึกษาชั้นปรีคลินิก และคลินิ    examination   
  มากขึ้น โดยใช้จากงบประมาณผลิตแพทย์เพิ่ม 8. ร้อยละของผลการประเมินการเรียนการสอน  
      - จัดให้นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ได้มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนในชั้น      ของอาจารย์รายบุคคลที่ผ่านเกณฑ์  
  คลินิก ภายใต้การดูแลของอาจารย์ โดยใช้จากงบประมาณผลิตแพทย์เพิ่       มหาวิทยาลัย (3.41)  
  4. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา   9. ความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ในระบบ  
      10. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา  
           ต่อกิจกรรมเสริมหลักสูตร  
      10. จำนวนอาจารย์ชาวต่างชาติ (KPIs คณะใหม่
      11. นศ.เต็มเวลาเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ ด้านการเรียนฯ)
      (รวมอาจารย์ที่เป็นลูกจ้างชั่วคราว)  
      2. ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิขาการเทียบกับอาจารย์ทั้งหมด (KPIs คณะใหม่
      3. ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก / วุฒิบัตรต่ออาจารย์ทั้งหมด ด้านพัฒนาฯ)
      1. จำนวนอาจารย์ที่ผ่านการอบรมและ KPIs ทีมบริหาร
          พัฒนาต่อเนื่องด้านแพทยศาสตรศึกษา  
         1.1 อาจารย์ใหม่ทุกคนผ่านการอบรม  
                แพทยศาสตรศึกษาพื้นฐาน     (ภายใน 1 ปี)  
            1.1.1 แพทยศาสตรศึกษาพื้นฐาน   
            1.1.2 Evidence based medicine  
            1.1.3 Health promotion  
            1.1.4 Palliative care  
            1.1.5 การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา  
        1.2 อาจารย์ที่ยังไม่เคยผ่านการอบรม KPIs ทีมบริหาร
      ต่อไปนี้  ผ่านการอบรมภายใน 2 ปี (1 ตค.48 -30 กย.50)  
            1.2.1 Evidence based medicine  
            1.2.2 Health promotion  
            1.2.3 Palliative care  
            1.2.4 การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา  
        1.3 อาจารย์ทุกคนผ่านการอบรมเป็น  
      อาจารย์ที่ปรึกษาเรื่อง Evidence based  
      medicine  ภายใน 2 ปี (1 ตค.48 -30 กย.50)  
         1.4 อาจารย์ปีที่ 3 ขึ้นไปได้หน่วยกิต   
      CME 15 หน่วยกิต ภายใน 2 ปี (ระหว่าง 1 เม.ย. 48 - 31 มี.ค.50)  
   -  กำหนดภารกิจ/หน้าที่ของ  -  พัฒนานักวิชาการ/เจ้าหน้าที่สนับสนุน 2. จำนวนผลงานวิจัยด้าน (KPIs ทีมบริหาร
  บุคลากรสนับสนุนวิชาการให้ วิชาการให้มีศักยภาพในการทำงานด้านวิชากา แพทยศาสตรศึกษา ด้านการเรียนฯ)
  ชัดเจน และพัฒนาให้สามารถ     2.1 จำนวนผลงานวิจัยด้าน  
  ทำหน้าที่ได้อย่างมีคุณภาพ   แพทยศาสตรศึกษา  
       2.2 จำนวนผลงานวิจัยด้าน  
            แพทยศาสตรศึกษาที่มีการตีพิมพ์  
   -  กำหนดให้มีการประเมิน  -  ให้มีคณะกรรมการเพื่อประเมินและพัฒนา 3. ผลการประเมินคุณภาพบัณฑิต  
  คุณสมบัติของบัณฑิตแพทย์ นักศึกษาแพทย์    และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต   
     - การประเมินคุณภาพบัณฑิตและความพึงพอ     โดยผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน    
      ใจของผู้ใช้บริการบัณฑิต    
         
      4. การจัดการเรียนการสอนให้เป็นไป KPIs ทีมบริหาร
          ตาม พรบ.การศึกษา 2542 (ป.ตรี)  
         4.1 จำนวนวิชาที่มี CAI เพิ่มขึ้น  
       (เป็น interactive ตรงตามวัตถุประสงค์รายวิชา)  
                4.1.1 จำนวนรายวิชาที่มี CAI  
                   (นับทั้ง CAI ที่จัดหาและผลิตเอง)  
                4.1.2 จำนวน CAI ที่ผลิต  
      (ใหม่/ปรับปรุงอย่างน้อย 30%)  
      4.2 จำนวนวิชาที่มี Virtual classroom  
      4.3 ระดับผลการประเมินคุณภาพการศึกษา KPIs ทีมบริหาร
      จากภายใน  
      5. ร้อยละของอาจารย์ที่ได้ผลการประเมิน  
          การสอนเฉลี่ย > 3.41 ใน 5  
      6. ความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์  
          ในระบบการเรียนการสอน  
      7.จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน   
         National  examination (basic science)   
         2 ครั้งแรก  
      1. จำนวน CAI หรือ virtual classroom หรือ หนังสือ ที่ผลิตขึ้นใหม่ KPIs ภาค
            - CAI                         1   เรื่อง     =     3  คะแนน   
            - Virtual Classroom    1   เรื่อง     =     3 คะแนน  
            - หนังสือที่ผลิตใหม่ในปีนั้น ตั้งแต่ 50 หน้าขึ้นไป  =  3 คะแนน  
      2. สัดส่วนของอาจารย์เข้าฝึกอบรมด้านแพทยศาสตรศึกษาได้เครดิต  
          ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้  (15 เครดิต/คน/2 ปี(ประเมินปีการศึกษ  
          48-49))   
      3.  สัดส่วนของข้อสอบใหม่ของการสอบ comprehensive (ขั้นที่ 2)   
          ( เฉพาะ MCQ)(ข้อสอบที่เคยใช้ภายใน 3 ปี ถือว่าเป็นข้อสอบเก่า)  
      1. จำนวนชั่วโมงสอนหรือประชุมวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ KPIs พิเศษ
          ต่อสัปดาห์  
      2. การขอ/การตรวจพิสูจน์ศพ   
          2.1 ภาควิชากุมารเวชศาสตร์   - การขอ  
                ไม่รวมทารกตายในครรภ์ (dead fetus)  
          2.2 ภาควิชาอายุรศาสตร์  - การขอ